อิทธิพลของปุ๋ยชีวภาพ และปุ๋ยเคมี ต่อการเจริญเติบโตของหน้าวัวใบยาว

อิทธิพลของปุ๋ยชีวภาพ พีจีพีอาร์ 1,2,3 และปุ๋ยเคมี ต่อการเจริญเติบโตของหน้าวัวใบยาว โดย นาย ณัฐปคัลภ์ มงคลชัย รหัสนักศึกษา 5510610031 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
นางสาวเสาวณี เฟืองแก้ว รหัสนักศึกษา 55101812149 มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
นางสาวทิวารัตน์ มีสวัสดิ์ รหัสนักศึกษา 55162161 มหาวิทยาลัยนเรศวร

เอกสารเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของโครงการสหกิจศึกษา
ณ สวนอุดมการ์เด้น ตาบลดอนคลัง อาเภอดาเนินสะดวก จังหวัดราชบุรี

บทคัดย่อ
ปุ๋ยเป็นธาตุอาหารที่จาเป็นต่อการเจริญเติบโตของไม้ตัดใบ หน้าวัวใบยาวเป็นพืชตัดใบชนิดหนึ่งที่ปุ๋ยมีผลต่อกรเจริญเติบโต จากการศึกษาอิทธิพลอิทธิของปุ๋ยพีจีพีอาร์ 1,2,3 และ ปุ๋ยเคมี ต่อการเจริญเติบโตของหน้าวัวใบยาว พบว่า การใช้ปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์ 1 อัตรา 500 กรัมต่อน้า 100 ลิตรต่อพื้นที่ 1ไร่ + ปุ๋ยไนโตรฟอสก้า สูตร 12-12-17 อัตรา 15 กรัมต่อต้น + ปุ๋ยเกล็ด สูตร 16-21-27 มีผลต่อการเจริญเติบโตด้านความยาวใบ 1 และ 2 ปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์ 1 อัตรา 1000 กรัมต่อน้า 100 ลิตรต่อพื้นที่ 1 ไร่ + ปุ๋ยเกล็ด สูตร 16-21-27 มีผลต่อการเจริญเติบโตด้านความยาวใบ 3 ด้านการเจริญเติบโตด้านความกว้างใบ 1 การปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์ 2 อัตรา 500 กรัมต่อน้า 100 ลิตรต่อพื้นที่ 1 ไร่ + ปุ๋ยไนโตรฟอสก้า สูตร 12-12-17 อัตรา 10 กรัมต่อต้น + ปุ๋ยเกล็ด สูตร 16-21-27 มีผลต่อการเจริญเติบโตมาทที่สุด การเจริญเติบโตด้านความกว้างใบ 2 การใช้ปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์ 1 อัตรา 500 กรัมต่อน้า 100 ลิตรต่อพื้นที่ 1ไร่ + ปุ๋ยไนโตรฟอสก้า สูตร 12-12-17 อัตรา 15 กรัมต่อต้น + ปุ๋ยเกล็ด สูตร 16-21-27 มีผลต่อการเจริญเติบโตมากที่สุด และการเจริญเติบโตด้านความกว้างใบ 3 การใช้ปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์ 2 อัตรา 1000 กรัมต่อน้า 100 ลิตรต่อพื้นที่ 1 ไร่ + ปุ๋ยไนโตรฟอสก้า สูตร 12-12-17 อัตรา 10 กรัมต่อต้น + ปุ๋ยเกล็ด สูตร 16-21-27 มีผลต่อการเจริญเติบโตมากที่สุด ด้านความยาวยอด ปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์ 1 อัตรา 1000 กรัมต่อน้า 100 ลิตรต่อพื้นที่ 1 ไร่ + ปุ๋ยไนโตรฟอสก้า สูตร 12-12-17 อัตรา 15 กรัมต่อต้น + ปุ๋ยเกล็ด สูตร 16-21-27 มีผลต่อการเจริญเติบโตด้านความยาวยอดมากที่สุด ด้านความยาวก้านใบ ปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์ 3 อัตรา 1000 กรัมต่อน้า 100 ลิตรต่อพื้นที่ 1 ไร่ + ปุ๋ยไนโตรฟอสก้า สูตร 12-12-17 อัตรา 15 กรัมต่อต้น + ปุ๋ยเกล็ด สูตร 16-21-27 มีผลต่อการเจริญเติบโตด้านความยาวก้านใบมากที่สุด ในการเจริญเติบโตด้านจานวนใบ พบว่า ปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์ 2 อัตรา 1000 กรัมต่อน้า 100 ลิตรต่อพื้นที่ 1 ไร่ + ปุ๋ยไนโตรฟอสก้า สูตร 12-12-17 อัตรา 15 กรัมต่อต้น + ปุ๋ยเกล็ด สูตร 16-21-27 มีผลต่อการเจริญเติบโตด้านจานวนใบมากที่สุด จากสรุปผลการทดลอง พบว่า การใช้ปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์ 1 อัตรา 500 กรัมต่อน้า 100 ลิตรต่อพื้นที่ 1ไร่ + ปุ๋ยไนโตรฟอสก้า สูตร 12-12-17 อัตรา 15 กรัมต่อต้น + ปุ๋ยเกล็ด สูตร 16-21-27 มีผลต่อการเจริญเติบโตของหน้าวัวใบยาวมากที่สุด
คาสาคัญ : หน้าวัวใบยาว, ปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์, การเจริญเติบโต

บทที่ 1
บทนา
1.1 หลักการและเหตุผล
หน้าวัวใบยาวเป็นไม้ประดับชนิดหนึ่งอยู่ในวงศ์ Araceae มีถิ่นกาเนิดแถบเขตร้อนของทวีปอเมริกาเหนือและใต้ เช่น เอกวาดอ เปรู โคลัมเบีย และบราซิล เป็นต้น เริ่มนาเข้ามาปลูกในประเทศไทยเมื่อประมาณสิบกว่าปีมาแล้วนับจากปี พ.ศ. 2551 ช่วงนั้นมีราคาค่อนข้างสูงมาก แต่ที่สาคัญที่ทาให้ราคายังสูงนั้น เพราะว่าเป็นไม้ที่ให้เมล็ดยากและโตไม่เร็วมากเป็นไม้ประดับชนิดหนึ่งพันธุ์ที่นิยมกันมาก ได้แก่ สายพันธุ์ Renaissance ซึ่งมีความต้องการเป็นอย่างมาก ดังนั้นการเพิ่มกระตุ้นการแตกใบใหม่ให้แก่หน้าวัวตัดใบถือเป็นการเพิ่มมูลค่าให้แก่เกษตรกรอีกทางหนึ่ง
หน้าวัวใบยาวเป็นพืชที่ชอบสภาพอากาศร่วนโปร่งมีการระบายน้าและอากาศดี เช่นกาบมะพร้าวสับ ในช่วงแรกจะมีการเจริญเติบโตค่อนข้างช้า อุณหภูมิช่วงกลางวัน 26-32 องศาเซลเซียส ช่วงกลางคืน 21-24 องศาเซลเซียส สภาพแสงที่เหมาะสมกับการปลูกเลี้ยงหน้าวัวตัดใบจะขึ้นอยู่กับสายพันธุ์ ระดับความสูงจากระดับน้าทะเล อุณหภูมิและปริมาณธาตุอาหารโดยทั่วไปจะเจริญเติบโตได้ดีที่ระดับความเข้มของแสงประมาณ 12,000 – 20,000 ลักซ์ ถ้าหากความเข้มของแสงเกินจะทาให้ใบมีอาการใบแข็งหยาบกร้านผิวของใบไม่เป็นมันสีไม่เขียวเข้มสดใส ถ้าหากความเข้มของแสงน้อยเกินไป ใบจะมีอาการอ่อนนิ่ม สีเขียวเข้ม ส่วนโรงเรือนสาหรับปลูกเลี้ยงหน้าวัวตัดใบ ควรเป็นลักษณะโรงเรือนปิด ความสูงประมาณ 3-4 เมตร หลังคามุงด้วยตาข่ายพลางแสงที่ประมาณ 70 เปอร์เซ็นต์ ด้านข้างปิดด้วยตาข่ายพลางแสงที่ประมาณ 60-70 เปอร์เซ็นต์ วัสดุปลูกจะต้องร่วนโปร่งระบายน้าดี โดยปกติหน้าวัวใบยาวจะต้องการการดูแลเช่นเดียวกับพืชชนิดอื่น นอกจากวัสดุปลูกที่มีความสาคัญ การเพิ่มธาตุอาหารให้แก่หน้าวัวใบยาวก็มีความเป็นอย่างมาก
ดังนั้น การเลือกใช้ปุ๋ยที่มีความเหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของหน้าวัวใบยาวที่ส่งผลต่อคุณภาพของหน้าวัวใบยาว ทาให้มีการศึกษาเกี่ยวกับ อิทธิพลของปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์ 1,2,3 และปุ๋ยเคมี ต่อการเจริญเติบโตของหน้าวัวใบยาว เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของปุ๋ยที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของหน้าวัวใบยาวในปริมาณที่เหมาะสม

1.2 วัตถุประสงค์
– เพื่อศึกษาอิทธิพลของปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์ 1 ,2 ,3 และปุ๋ยเคมี ที่ส่งผลต่อการเจริญเติบโตของหน้าวัวใบยาว
– เพื่อศึกษาความแตกต่างของการใช้ปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์ 1,2.3 ร่วมกับปุ๋ยเคมีในระดับปริมาณต่างกัน ที่ส่งผลต่อการเจริญเติบโตของหน้าวัวใบยาว
1.3 ขอบเขตการศึกษา
ศึกษาหาอิทธิพลของปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์ 1 ,2 ,3 และปุ๋ยเคมี ต่อการเจริญเติบโตของหน้าวัวใบยาว
1.4 สมมุติฐาน
– ผลของการใช้ปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์ 1 ร่วมกับปุ๋ยเคมีต่อการเจริญเติบโตทางด้านขนาดของใบหน้าวัวใบยาวมีความแตกต่างกัน
– ผลของการใช้ปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์ 2 ร่วมกับปุ๋ยเคมีต่อการเจริญเติบโตทางด้านขนาดของใบหน้าวัวใบยาวมีความแตกต่างกัน
– ผลของการใช้ปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์ 3 ร่วมกับปุ๋ยเคมีต่อการเจริญเติบโตทางด้านขนาดของใบหน้าวัวใบยาวมีความแตกต่างกัน
1.5 นิยามศัพท์เฉพาะ
ปุ๋ย หมายถึง สารอินทรีย์หรือสารอนินทรีย์ที่เกิดขึ้นโดยธรรมชาติหรือการสังเคราะห์สาหรับใช้เป็นธาตุอาหารแก่พืชได้ไม่ว่าโดยวิธีใดหรือทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมีในดิน เพื่อบารุงความเจริญเติบโตแก่พืชในหลักวิชาการปุ๋ยโดยทั่วไป
พีจีพีอาร์ หมายถึง ปุ๋ยที่ประกอบด้วยแบคทีเรียส่งเสริมการเจริญเติบโตของพืช ซึ่งสามารถตรึงไนโตรเจน ละลายธาตุอาหารพืชและสร้างสารกระตุ้นการเจริญเติบโตของพืช การที่แบคทีเรียมีบทบาทได้หลายอย่างนี้ จึงทาให้แบคทีเรียสามารถช่วยให้ธาตุอาหารสาหรับส่งเสริมการเจริญเติบโตให้กับพืชได้แต่ทั้งนี้ต้องขึ้นอยู่กับความพร้อมของปัจจัยอื่นๆ ด้วย ดังเช่น พันธุ์พืช และการจัดการสภาพแวดล้อมให้เหมาะสมกับการอยู่รอดของจุลินทรีย์
1.6 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ

– ทราบถึงอิทธิพลของปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์ 1,2,3 ที่มีผลต่อการเจริญด้านขนาดใบของหน้าวัวใบยาว
– ทราบถึงอัตราส่วนของปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์ 1,2,3 และปุ๋ยเคมีที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตด้านขนาดใบของหน้าวัวใบยาว
– การใช้ปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์1,2,3สามารถลดต้นทุนการผลิตในการใช้ปุ๋ยเคมีในหน้าวัวใบยาว
บทที่2
การตรวจเอกสาร
2.1 หน้าวัวใบยาว
หน้าวัวใบยาว (Anthura) อยู่ในวงศ์ Araceae มีถิ่นกาเนิดแถบเขตร้อนของทวีปอเมริกาเหนือและใต้ เป็นไม้ประดับชนิดหนึ่งพันธุ์ที่นิยมกันมาก ได้แก่ สายพันธุ์ Renaissance ซึ่งมีความต้องการเป็นอย่างมาก ดังนั้นการเพิ่มกระตุ้นการแตกใบใหม่ให้แก่หน้าวัวตัดใบถือเป็นการเพิ่มมูลค่าให้แก่เกษตรกรอีกทางหนึ่ง
2.1.1 ลักษณะทางสัณฐานวิทยา
ลักษณะทั่วไป ลาต้นเป็นไม้อวบน้า(Perennial herbaceous) ตั้งตรงค่อนไปทางไม้เลื้อย
การเจริญเติบโต มียอดเดียว หรือมีการแตกกอบ้างเป็นบางต้นเมื่อยอดเจริญสูงขึ้นจะมีรากบริเวณลาต้น รากเหล่านี้จะเจริญลงสู่วัสดุปลูกก็ต่อเมื่อโรงเรือนมีความชื้นเพียงพอ เรียกว่า รากอากาศ (aerial root) สามารถดูดน้าและความชื้นจากอากาศได้
ลักษณะใบ ใบหน้าวัวมีรูปร่างแตกต่างกัน เช่น ใบกลม ใบพลิ้ว ใบพาย ใบรูปแฉกใบรูปหัวใจ ใบรูปไข่ ใบรูปปลายหอก และอีกหลายรูปแล้วแต่ละสายพันธุ์ การเรียงตัวของใบจะเรียงเป็นเกลียวรอบลาต้นการปลูกเลี้ยงหน้าวัวตัดใบ
2.1.2 การปลูกและการดูแลรักษา
หน้าวัวใบยาวชอบวัสดุปลูกที่ร่วนโปร่งมีการระบายน้าและอากาศดี เช่นกาบมะพร้าวสับ ในช่วงแรกจะมีการเจริญเติบโตค่อนข้างช้า อุณหภูมิช่วงกลางวัน 26-32 องศาเซลเซียส ช่วงกลางคืน 21-24 องศาเซลเซียส สภาพแสงที่เหมาะสมกับการปลูกเลี้ยงหน้าวัวตัดใบจะขึ้นอยู่กับสายพันธุ์ ระดับความสูงจากระดับน้าทะเล อุณหภูมิและปริมาณธาตุอาหารโดยทั่วไปจะเจริญเติบโตได้ดีที่ระดับความเข้มของแสงประมาณ 12,000 – 20,000 ลักซ์ ถ้าหากความเข้มของแสงเกินจะทาให้ใบมีอาการใบแข็งหยาบกร้านผิวของใบไม่เป็นมันสีไม่เขียวเข้มสดใส ถ้าหากความเข้มของแสงน้อยเกินไป ใบจะมีอาการอ่อนนิ่ม สีเขียวเข้ม ส่วนโรงเรือนสาหรับปลูกเลี้ยงหน้าวัวตัดใบ ควรเป็นลักษณะโรงเรือนปิด

ความสูงประมาณ 3-4 เมตร หลังคามุงด้วยตาข่ายพลางแสงที่ประมาณ 70 เปอร์เซ็นต์ ด้านข้างปิดด้วยตาข่ายพลางแสงที่ประมาณ 60-70 เปอร์เซ็นต์ วัสดุปลูกจะต้องร่วนโปร่งระบายน้าดี
การขยายพันธุ์ วิธีการขยายพันธุ์มีดังนี้ การขยายพันธุ์โดยวิธีไม่อาศัยเพศ ได้แก่ การตัดยอดชา การตัดลาต้นชา การแยกหน่อ และการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ การขยายพันธุ์โดยวิธีอาศัยเพศ ได้แก่ การเพาะเมล็ด
การให้น้า ควรให้น้าแบบสปริงเกลอร์อยู่ด้านบน คุณภาพของน้าค่า pH ประมาณ 5.5-6.5 ค่าการนาไฟฟ้า (Ec) ไม่เกิน0.5 ms/cm
การให้ปุ๋ย เมื่อสังเกตว่าต้นมีลักษณะใบเรื่มเหลืองหรือใบเหี่ยวให้ทาการใส่ปุ๋ย โดยปุ๋ยทางรากจะใส่ทุกๆ 1 เดือน ซึ่งจะใส่ปุ๋ยสูตรเสมอ เช่น ปุ๋ยเคมี สูตร 16-16-16 เพราะพืชจะนาไปใช้เร็วกว่าปุ๋ยละลายช้า เช่น ออสโมโค้ท 3 เดือน/ครั้ง ส่วนปุ๋ยฉีดพ่นทางใบใส่ทุกๆ 15-20 วัน
การเก็บเกี่ยว การตัดใบหน้าวัว ควรตัดใบให้เหลือติดอยู่กับต้นประมาณ 3-5 ใบ ใบที่จะทาการตัดจะต้องไม่แก่ไม่อ่อนจนเกินไปและจะต้องไม่มีโรคและแมลงทาลาย ช่วงระยะเวลาการตัดใบแต่ละใบห่างกันประมาณ 15-20 วัน เมื่อทาการตัดใบแล้วควรนาไปแช่น้าในทันที ก่อนที่จะนาไปใช้งาน
2.1.3 การป้องกันและกาจัดศัตรูพืช
โรคและศัตรูที่สาคัญ ได้แก่ โรคเน่า โรคใบไหม้ โรคใบจุด ส่วนศัตรูที่พบในหน้าวัวใบยาว ได้แก่ หนอนกระทู้ หนอนเจาะสมอฝ้าย หนอนกระทู้ผัก และหนอนกินใบอื่นๆ ไส้เดือนฝอย ไรแดง ไรขาว ทากและหอยทาก เป็นต้น
การป้องกันและกาจัด
– ป้องกันไม่ให้แมลงมาติดกับพืชที่ปลูกใหม่ และหากพบในปริมาณไม่มากให้ใช้วิธีการรูดตัวออกมา
– ต้นที่ได้รับความเสียหายมากโดยเฉพาะโรครากเน่าให้ทาการถอนต้นทาลายทันที
– หากมีการระบาดควรใช้สารกาจัด ถ้าเป็นไรให้ใช้ผงกามะถันฉีดพ่น และต้นถูกทาลายควรให้ปุ๋ยทางใบแก่พืช ซึ่งจะทาให้พืชฟื้นตัวได้เร็วยิ่งขึ้น
2.1.4 การใช้ประโยชน์
หน้าวัวใบยาว สามารถนาไปใช้ในการจัดแจกัน หรือประดับสถานที่จัดงานทั้งงานอวมงคลและมงคล ซึ่งส่วนใหญ่จะนาไปจัดร่วมกับดอกไม้ชนิดอื่น และนาไปปลูกในกระถางบริเวณบ้านเรือนอาคาร ใบหน้าวัวจะค่อนข้างแข็งสามารถเก็บไว้ได้นาน 7-10 วัน
2.2 ความสาคัญของธาตุอาหารต่อการเจริญเติบโตของ

ปุ๋ย หมายถึง วัตถุหรือสารที่ใส่ลงในดิน โดยมีวัตถุประสงค์ที่จะให้ธาตุอาหารที่จาเป็นสาหรับพืชและพืชนาไปใช้ประโยชน์ได้ การใส่ปุ๋ย คือ การให้ธาตุอาหารแก่พืช เมื่อเก็บเกี่ยวผลผลิตออกไปปุ๋ยเดิมในดินจะสูญหายไปด้วย ฉะนั้นต้องชดเชยโดยการใส่ปุ๋ย เพื่อเพิ่มผลผลิตต่อไร่ให้สูงขึ้นกับพื้นที่เพาะปลูกที่ลดลง (ศรัญญา, 2555)
2.2.1 ปุ๋ยเคมี หมายถึง ปุ๋ยที่ได้จากสารอนินทรีย์หรืออินทรีย์สังเคราะห์รวมถึงปุ๋ยเชิงเดี่ยว ปุ๋ยเชิงผสม ปุ๋ยเชิงประกอบ และปุ๋ยอินทรีย์เคมี แต่ไม่รวมถึงปูนขาว ดินมาร์ล ปูนปลาสเตอร์ ยิปซัม โดโลไมต์หรือสารอื่นที่รัฐมนตรีกาหนดโดยประกาศในกิจจานุเบกษา ตลอดจนสารอนินทรีย์หรืออินทรีย์ไม่ว่าจะเกิดขึ้นโดยธรรมชาติหรือทาขึ้นใช้ในอุตสาหกรรมหรือกิจการอื่นตามที่รัฐมนตรีประกาศในราชกิจจานุเบกษา (อังคณา, 2556)
ปุ๋ยเคมีแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือ แม่ปุ๋ยและปุ๋ยผสม (ศรัญญา, 2555)
1. แม่ปุ๋ย ได้แก่
– ปุ๋ยไนโตรเจน คือ ยูเรีย (46-0-0) และแอมโมเนียมซัลเฟต (21-0-0)
– ปุ๋ยฟอสฟอรัส คือ ไดแอมโมเนียมฟอสเฟต (18-46-0) และทริบเปิ้ลซุปเปอร์ฟอสเฟต (0-46-0)
– ปุ๋ยโพแทสเซียม คือ โพแทสเซียมคลอไรด์ (0-0-60)
2. ปุ๋ยผสม คือ แม่ปุ๋ยตั้งแต่สองชนิดมาผสมกันเพื่อให้ได้ปริมาณและสัดส่วนของ N P K ตามที่ต้องการ เช่น ปุ๋ยเคมี สูตร 15-15-15, 16-8-8, 14-4-9 เป็นต้น และอยู่ในรูปของเม็ด ผง ของเหลว ปุ๋ยผสมปั้นเม็ดหรือปุ๋ยผสมคลุกเคล้า
ประโยชน์ของปุ๋ยเคมี
ปุ๋ยเคมีสามารถใช้ปรับปรุงให้ดินมีธาตุอาหารชนิดต่างๆเหมาะกับพืช เนื่องจากปุ๋ยเคมีเป็นปุ๋ยที่มนุษย์ผลิตขึ้นด้วยวิธีทางเคมี จึงมีความหลากหลายซึ่งในด้านชนิดและปริมาณธาตุอาหารที่มีอยู่ในปุ๋ย จึงสามารถปรับแต่งหรือนามาผสมให้มีธาตุอาหารแต่ละชนิดตรงกับความต้องการของพืชและเหมาะสมกับดิน การใช้ปุ๋ยเคมีทาให้สามารถปรับปรุงดินให้มีธาตุอาหารต่างๆเหมาะกับความต้องการของพืช อีกทั้งยังสามารถปรับปรุงให้ดินมีธาตุอาหารชนิดต่างๆ ในปริมาณที่สมดุลกัน (อานาจ, 2553)
2.2.2 ปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์ Plant Growth Promoting Rhizobacteria (PGPR)
พีจีพีอาร์ หมายถึง ปุ๋ยที่ประกอบด้วยแบคทีเรียส่งเสริมการเจริญเติบโตของพืช ซึ่งสามารถตรึงไนโตรเจน ละลายธาตุอาหารพืชและสร้างสารกระตุ้นการเจริญเติบโตของพืช การที่แบคทีเรียมีบทบาทได้หลายอย่างนี้ จึงทาให้แบคทีเรียสามารถช่วยให้ธาตุอาหารสาหรับส่งเสริมการเจริญเติบโตให้กับพืชได้แต่ทั้งนี้ต้องขึ้นอยู่กับ

ความพร้อมของปัจจัยอื่นๆ ด้วย ดังเช่น พันธุ์พืช และการจัดการสภาพแวดล้อมให้เหมาะสมกับการอยู่รอดของจุลินทรีย์ (กรมวิชาการเกษตร, 2553)
ปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์นิยมนามาผสมเป็นสวนประกอบของปุ๋ยชีวภาพ (Karlidaget al., 2007) ซึ่งแบคทีเรียในกลุ่ม PGPR มีหลายชนิดได้แก่Acinetobacter, Alcaligenes, Arthrobacter, Azospirillum, Azotobacter, Bacillus, Beijerinckia, Burkholderia, Enterobacter, Erwinia, Flavobacterium, RhiznobiumและSerratia(Rodriguez and Fraga, 1999; Sturz and Nowak, 2000; Sudhakaret al., 2000) มีรายงานการศึกษาพบว่า PGPR สามารถกระตุ้นการเจริญเติบโตและเพิ่มผลผลิตในพืชหลายชนิดได้แก่ ส้ม มัลเบอร์รี่ (mulberry) บ๋วยเชอรรี่หวานและราส์พเบอรี่ (Kloepper, 1994; Sudhakaret al.,2000; Esitkenet al., 2002, 2003, 2006; Orhanet al., 2006) โดยทั่วๆไป PGPR จะต้องคานึงว่ามีบทบาทตอการส่งเสริมการเจริญเติบโตของพืชตามกลไกเช่นกลไกทางตรงต่อพืชได้แก่ความสามารถในการตรึงไนโตรเจนความสามารถในการเพิ่มความเป็นประโยชน์ของธาตุอาหารพืชเช่นละลายฟอสฟอรัสและโพแทสเซียมเป็นต้นความสามารถในการสร้างสาร siderophores ในการจับธาตุเหล็กความสามารถในการสร้างฮอร์โมนพืชเช่น auxin, cytokinin และgibberelin และลดปริมาณ ethylene ในพืชส่วนกลไกทางอ้อมต่อพืชไดแก่ความสามารถในการสร้างสารปฏิชีวนะความสามารถในการกระตุ้นให้พืชสร้างภูมิคุ้มกันความสามารถในการสร้างสารยับยั้งเชื้อราก่อโรคและความสามารถในการสร้างเอนไซม์ย่อยสลายผนังเซลล์ของเชื้อราก่อโรคเป็นต้น(Glieket al., 1999)
กลไกเร่งการเจริญเติบโตของพืช PGPR ช่วยพืชเจริญเติบโตได้ดีขึ้นด้วยกัน 3 วิธี คือ
1. การผลิตสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช (plant growth regulators, PGRs) หมายถึงสารอินทรีย์เมื่อใช้ความเข้มข้นที่ต่ามาก มีผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงกระบวนการทางสรีระของพืช มี 5 ชนิด คือ ออกซิน (auxins) จิบเบอเรลลิ(gibberrellins) ไซโตไคนิน (cytokinins) เอทิลีน (ethylene) และกรดแอบซิสิก (abscisic acid) สาหรับไรโซแบคทีเรียที่ผลิตสารเร่งการเจริญเติบโตของพืช จุลินทรีย์แต่ละชนิดผลิตสารเร่งการเจริญเติบโตของพืชได้ในปริมาณที่แตกต่าง กัน เช่น ในบรรดา PGPR ที่มีการแยกเอกเทศ (isolation) มาจากรากพืชต่างๆ จานวน 50 ไอโซเลต (isolate) พบว่าร้อยละ 86 58 และ 90 ผลิตออกซิน จิบเบอเรลลินและสารคล้ายไซโตไคนิน ตามลาดับ ส่วนอีกจานวน 24 ไอโซเลต ผลิตสารเร่งการเจริญเติบโตของพืชได้ทั้งสิ้น โดยมีพิสัยของความเข้มข้นดังนี้ ออกซิน 10.5-39.0 ไมโครกรัม/ลูกบาศก์เซนติเมตร จิบเบอเรลลิน 1.21-13.3 ไมโครกรัม/ลูกบาศก์เซนติเมตร ไซโตไคนินเจริญเติบโตของพืชในการสังเคราะห์ออกซินนั้น ไรโซแบคทีเรียใช้กรดอะมิโนทริปโตเฟน (tryptophane) ในของเหลวขับจากราก (root exudate) เป็นสารตั้งต้น ดังนั้นปริมาณทริปโตเฟนที่รากพืชขับออกมาจึงสัมพันธ์กับปริมาณออกซินที่ PGPR สังเคราะห์ได้ สาหรับจุลินทรีย์ในดินรอบรากที่มิได้เป็นสาเหตุของโรคพืช

อาจเป็นไรโซแบคทีเรียอันตราย (deteterious rhizobacteria, DRB) ต่อพืชเนื่องจากอาจไปยับยั้งการเจริญเติบโตของราก โดยผลิต IAA เข้มข้นสูง ผลิตสารซิเดโรฟอร์ออกมาดึงเหล็กและแย่งไป ผลิตเอทิลีนและกรดไซยานิก ตลาดจนสารที่เป็นพิษอื่นๆ สาหรับผลของ IAA ต่อการเจริญเติบโตของรากขึ้นอยู่กับความเข้มข้นที่ได้รับ เช่น PGPR ชื่อ Agrobacterium sp. ผลิต IAA 48 ชั่วโมง ได้ความเข้มข้น 16.4 ไมโครลาร์ ซึ่งพอเหมาะสาหรับเร่งการเจริญเติบโตของราก แต่ DRB ชื่อ Micrococcus luteus ผลิตได้ 76.6 ไมโครลาร์ ในเวลาเท่ากัน ซึ่งมีปริมาณที่สูงเกินไปและมีผลยับยั้งการเจริญเติบโตของพืช
2. ช่วยละลายธาตุอาหารและช่วยให้พืชดุดซึมธาตุอาหารได้โดยง่าย เนื่องจากดินโดยทั่วไปมักจะมีปัญหาการขาดธาตุอาหารธาตุใดธาตุหนึ่ง เพราะธาตุเหล่านั้นอยู่ในรูปที่ไม่เป็นประโยชน์ ในกรณีที่ระดับความเป็นประโยชน์ของฟอสฟอรัสและเหล็กในดินต่า ไม่เพียงพอต่อความต้องการของพืช PGPR อาจช่วยแก้ไขปัญหาดังกล่าวได้บ่างส่วน เนื่องจาก PGPR มีกลไกที่ช่วยให้สารประกอบของธาตุทั้งสองในดินละลายและเป็นประโยชน์ต่อพืช มากขึ้น จึงส่งเสริมการเจริญเติบโตของพืช นอกจากนี้ไรโซเบียมบางสายพันธุ์ ช่วยละลายสารประกอบฟอสเฟตในดินและช่วยให้ข้าวดูดฟอสฟอรัสเพิ่มขึ้น 13-23%
2.1 สาหรับกลไก PGPR ใช้เพิ่มความเป็นประโยชน์ของธาตุอาหารในดิน มีดังนี้
2.1.1 สารประกอบของฟอสฟอรัสในดินมีทั้งสารอินทรีย์และสารอนินทรีย์ ซึ่งส่วนมากอยู่ในรูปทีไม่เป็นประโยชน์ต่อพืช แบคทีเรียที่ช่วยเร่งการเจริญเติบโตของพืช (plant growth promoting bacteria, PGPB) หลายชนิดมีกลไกการปลดปล่อยฟอสเฟตไอออนออกมาเป็นประโยชน์ต่อพืช โดยใช้เอนไซม์หลัก 2 ชนิด ในการย่อยสารอินทรีย์ฟอสเฟต คือ เอนไซม์ฟอสฟาเทสกรด (acid phosphatases) ซึ่งสามารถปลดพันธะฟอสโฟ–เอสเทอร์ (phosphor–ester bond) ในสารอินทรีย์และเอนไซม์ไฟเทส (phytases) ซึ่งช่วยปลดปล่อยฟอสเฟตไอออนจากกรดไฟทิก (phytic acid) ส่วนการละลายสารประกอบอนินทรีย์ฟอสเฟตในดินนั้น PGPR ใช้กรดอินทรีย์ เช่น กรดกลูโคนิก (gluconic acid, GA) ซึ่งสังเคราะห์โดยการออกซิไดส์กลูโคสโดยกรดโคนิก แล้วขับกรดดังกล่าวออกมาจากเซลล์ นอกจากนี้การขับกรดซิทริกและเพิ่มกรดคาร์บอนิกในดิน โดยการละลายน้าของคาร์บอนไดออกไซด์ที่ได้จากการหายใจ กรดเหล่านี้ช่วยเพิ่มสารละลายของไตรแคลเซียมฟอสเฟต ไฮดรอกซีอะพาไทต์ เหล็กฟอสเฟต (แร่สเตรนไจต์ ) และอะลูมิเนียมฟอสเฟต (แร่วาริสไซต์) ในดิน สาหับกรดอินทรีย์ที่จุลินทรีย์ผลิตได้นั้น นอกจากจะละลายสารประกอบฟอสเฟตแล้ว ยังเป็นสารคีเลตที่ทาปฏิกิริยากับไปออนของเหล็ก อะลูมิเนียม และแมงกานีสได้คีเลตของธาตุเหล่านั้น ป้องกันมิให้ไอออนดังกล่าวทาปฏิกิริยากับฟอสเหตไออนที่ละลายออกมา พืชจึงดูดใช้ฟอสเฟตไอออนได้ดี
2.1.2 ผลิตอินทรียสารที่มีสัมพรรคภาพ (affinity) สูงต่อเหล็ก เรียกอินทรียสารนี้ว่า ซิเดโรฟอร์ (siderophores) ซึ่งทาปฏิกิริยาคีเลชันกับเฟอรัสไอออนได้เหล็กคีเลตที่เป็นประโยชน์ต่อ

จุลินทรีย์และพืชสามารุดูดซึมไปใช้ประโยชน์ได้เช่นกัน จุลินทรีย์ที่สามารถผลิตซิเดโรฟอร์ ได้แก่ Bacillus, Rhizobium, Pseudomonas, Agrobacterium, Escherichia coil นอกจากนี้เชื้อราหลายชนิด ยังผลิตสารคีเลตชนิดต่างๆ ซึ่งทาปฏิกิริยากับเหล็กคีเลตได้หลายแบบ สาหรับ Rhizobium leguminosarum bv phaseoli นั้นเมื่อใช้คลุกเมล็ดอัลฟาฟ่าแล้วปลูก แบคทีเรียนี้จะสังเคราะห์สารซิเดโรฟอร์แล้วขับออกมาช่วยจับกับเหล็กและทองแดงในเครื่องปลูก เป็นในรูปพืชใช้ประโยชน์ได้ง่าย รากของต้นกล้าอัลฟาลฟาจึงดูดเหล็กและทองแดงได้มากกว่า แล้วยังเคลื่อนย้ายธาตุทั้งสองไปยังส่วนเหนือดินได้มากกว่าการไม่ใช้ แบคทีเรียชนิดนี้คลุกเมล็ดพืชก่อนปลูก
3. การควบคุมโรคพืชทางชีวภาพ เชื้อสาเหตุของโรคพืชที่มาจากดิน มักทาความเสียหายให้แก่พืชมาก เกษตรกรจึงต้องใช้วิธีการควบคุมที่มีประสิทธิภาพจึงจะได้ผลดี ในด้านการควบคุมโดยใช้ชีววิธีนั้น มีรายงานว่า PGPR ช่วยให้พืชมีความต้านทานต่อโรคหลายชนิด โดย PGPR มีวิธีการควบคุมเชื้อโรคบางชนิด ดังนี้
3.1 ผลิตเมแทบอไลต์ (metabolites) บางอย่างซึ่งมีผลในการควบคุมประชากรของเชื้อโรคในดินรอบผิวราก เมแทบอไลต์ที่สาคัญ ได้แก่ ซิเดโรฟอร์ซึ่งทาปฏิกิริยากับเหล็กในดิน ทาให้เชื้อโรคได้รับเหล็กเพื่อใช้ในการเจริญเติบโตน้อยลง
3.2 ผลิตสารปฏิชีวนะเช่น pyrolnitrin, 2-4diacetylphloroglucinol ซึ่งมีฤทธิ์ยับยั้งการเจริญของเชื้อโรคบางชนิด
3.3 การแข่งขัน (competition) สาหรับการควบคุมทางชีววิธีตามแนวทางนี้ ได้แก่ แย่งพื้นที่ แย่งอาหารและก่อปรสิต (parasitism) ต่อเชื้อโรค เช่น การทาลายเชื้อราด้วยไลติกเอนไซม์ (lyticenzymes) ซึ่งได้แก่ chitinase และ β-1,3-glucanase ซึ่งย่อยสลายผนังเซลล์ของเชื้อราสาเหตุของโรคพืชในบางส่วนของราก เช่น บริเวณจุดกาเนิดรากแขนงมักมีจุลินทรีย์ที่เป็นภัยต่อรากเข้ามาอาศัยเจริญ เติบโต แต่ PGPR จะมีประสิทธิภาพสูงในการแข่งขันเพื่อแย่พื้นที่ นอกจากนั้นจุลินทรีย์บางชนิดยังสามารถย่อยสลายกรดฟิวซาริก (fusaric acid) ซึ่งเป็นสารพิษและเกิดขึ้นในพืชบริเวณที่ถูกเชื้อ Fusarium เข้าทาลาย จึงช่วยยับยั้งการเกิดโรคจากเชื้อฟาซาเรียม
บริเวณที่อยู่อาศัยของ PGPR ในระบบรากพืชและ rhizosphereทาให้สามารถแบ่งชนิดของPGPR ได้ 2 ประเภท ได้แก่
1. Intracellular PGPR (iPGPR) หมายถึง กลุ่มPGPR ที่เข้าอาศัยภายในเซลล์ของรากพืช ตัวอย่างที่ชัดเจน ได้แก่ การเข้าอาศัย และสร้างปมของไรโซเบียมกับพืชตระกูลถั่ว
2. Extracellular PGPR (ePGPR) หมายถึง กลุ่ม PGPR ที่ไม่ได้อาศัยอยู่ในเซลล์ของรากพืช แต่มีคุณสมบัติเช่นเดียวกับ PGPR ทั่วไปซึ่งสามารถแบ่งเป็นกลุ่มย่อยตามตาแหน่งที่อยู่
ได้อีก 3 กลุ่ม คือ
2.1 กลุ่มที่อาศัยอยู่ใกล้กับราก

2.2 กลุ่มที่อาศัยติดอยู่ที่ผิวของราก
2.3 กลุ่มที่อาศัยอยู่บริเวณระหว่างเซลล์ของรากใน เช่น cortex
การเจริญเติบโตของพืชผ่านพีจีพีอาร์นั้นสามารถเกิดขึ้นได้ 2 แบบ คือ
(1) การส่งเสริมการเจริญเติบโตของพืชโดยตรง ได้แก่ การตรึงไนโตรเจน (nitrogen fixation) การละลายฟอสฟอรัส (phosphorus solubilization) การสร้างซิเดอร์โรฟอร์ (siderophore production) การสร้างฮอร์โมนพืช เช่น ออกซิน ไซโตไคนิน จิบเบอลิลินและการลดความเข้มข้นของเอทิลีนในพืช
(2) กลไกโดยอ้อม ได้แก่ การผลิตสารปฏิชีวนะ (antibiotic) ที่ใช้ควบคุมโรคพืช ลดปริมาณของธาตุเหล็กบริเวณรากที่เป็นประโยชน์ต่อเชื้อโรคพืช การสร้างสารต่อต้านเชื้อรา (antifungal) การผลิตเอนไซม์ทาลายผนังเซลล์ของเชื้อราโรคพืช การแย่งครอบครองเชื้อก่อโรคพืชบริเวณราก และการเหนี่ยวนาการสร้างความต้านทาน
ผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพ PGPR
กลุ่มงานวิจัยจุลินทรีย์ดิน กรมวิชาการเกษตรได้พัฒนาปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์ 1 สาหรับข้าวโพดและข้าวฟ่าง พีจีพีอาร์ 2 สาหรับข้าว และพีจีพีอาร์ 3 สาหรับอ้อยและมันสาปะหลัง ซึ่งมีข้อมูลสาคัญดังนี้
ปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์1
ปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์ 1 ประกอบด้วยแบคทีเรีย 3 สกุล ได้แก่ อะโซโตแบคเตอร์ อะโซสไปริลลัม และไบเจอริงเคีย
วิธีการใช้ มี 2 วิธี คือ 1. คลุกเมล็ดก่อนปลูก จะใช้ปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์ 1 จานวน 1 ถุง ใส่น้าสะอาดผสมให้ข้นเหนียว ใส่เมล็ดข้าวโพดหรือข้าวฟ่างคลุกเคล้าจนเนื้อปุ๋ยสีดาเคลือบติดผิวเมล็ด แล้วจึงนาไปปลูก 2. ใช้กับปุ๋ยหมัก จะใช้ปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์ 1 จานวน 1 ถุงละลายน้าสะอาด 20 ลิตร ราดกองปุ๋ยที่หมักสมบูรณ์แล้วจานวน 250-500 กิโลกรัม ปรับความชื้นในกองปุ๋ยหมักประมาณ 50-60 เปอร์เซ็นต์ โดยน้าหนักคลุกเคล้าให้เข้ากันบ่มไว้ 1 สัปดาห์ใช้รองก้นหลุมข้าวโพดหรือข้าวฟ่างก่อนปลูก อัตรา 250-500 กิโลกรัมต่อไร่
ปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์ 2
ประกอบด้วยแบคทีเรียบริเวณราก 2 สกุล ได้แก่ อะโซสไปริลลัม และบูเคอเดอเรีย
วิธีการใช้มี 2 วิธี คือ 1. คลุกเมล็ดก่อนปลูก จะใช้ปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์ 2 จานวน 1 ถุง ใส่น้าสะอาดผสมให้ข้นเหนียว ใส่เมล็ดข้าวปริมาณ 10-15 กิโลกรัม คลุกเคล้าจนเนื้อปุ๋ยสีดาเคลือบติดผิวเมล็ดแล้วจึงนาไปหว่าน 2. ใช้กับปุ๋ยหมักหรือปุ๋ยเคมีรองพื้น จะใช้ปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์ 2 จานวน 1 ถุง ผสมกับปุ๋ยหมักประมาณ 250 กิโลกรัม อัตราการใช้ปุ๋ยหมักผสมปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์ 2 ประมาณ 250 กิโลกรัมต่อไร่หรือใช้คลุกกับปุ๋ยเคมีรองพื้นพร้อมปลูก อัตราส่วนปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์ 2 1 ถุงต่อปุ๋ยเคมี 15-20 กิโลกรัมต่อไร่

ปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์ 3
ประกอบด้วยแบคทีเรียบริเวณราก 2 สกุล ได้แก่ อะโซสไปริลลัม และกลูคอนอะซิโตแบคเตอร์
วิธีการใช้
อ้อย มี 2 วิธี คือ 1. ฉีดพ่นท่อนพันธุ์อ้อย จะใช้ปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์ 3 ละลายกับน้าสะอาดในอัตราส่วน 1:100 ปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์ 3 อัตรา 1 กิโลกรัมต่อน้าสะอาด 100 ลิตรต่อ 1 ไร่ ฉีดพ่นเป็นฝอยละเอียดลงบนท่อนพันธุ์แล้วจึงกลบทับด้วยดินทันที 2. ผสมปุ๋ยเคมี จะใช้ปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์ 3 ผสมปุ๋ยเคมีแบบเม็ดและคลุกเคล้าให้ปุ๋ยชีวภาพเกาะเม็ดปุ๋ยเคมี แล้วจึงหว่านรองพื้นและต้องรีบหว่านให้หมด
มันสาปะหลัง มี 2 วิธี คือ 1. แช่ท่อนพันธุ์มันสาปะหลัง จะใช้ปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์ 3 ละลายกับน้าสะอาดในอัตราส่วน 1:20 ปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์ 3 อัตรา 1 กิโลกรัมต่อน้า 20 ลิตรต่อ 1 ไร่ หลังจากนั้นนาท่อนพันธุ์ลงไปแช่เป็นเวลา 30 นาทีแล้วจึงนาไปปลูกทันที 2. ผสมปุ๋ยเคมี จะใช้ปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์ 3 ผสมปุ๋ยเคมีแบบเม็ดและคลุกเคล้าให้ปุ๋ยชีวภาพเกาะเม็ดปุ๋ย แล้วจึงหว่านรองพื้นและต้องรีบกลบทันที
2.3 การใช้ PGPR ในการเกษตร
การวิจัยด้าน PGPR เริ่มมีอย่างจริงจังในประเทศจีน และเรียกแบคทีเรียกลุ่มนี้ว่า “แบคทีเรียเพิ่มผลผลิต” (yield–increasing bacteria, YIB) และมีการวิจัยอย่างต่อเนื่องมาจนถึงปัจจุบัน สาหรับแบคทีเรียที่ใช้ในขณะนี้ ได้แก่ Bacillus cereus, Bacillus firmus, Bacillus licheniformis และมีการพัฒนาชนิดอื่นๆ ขึ้นมาอีกด้วย แล้วนามารวมกันเป็น PGPR ที่เหมาะสมเพื่อใช้คลุกเมล็ดก่อนปลูก จุ่มรากกล้าพืชก่อนย้ายกล้าหรือผสมน้ารดลงไปในดิน สาหรับการใช้ที่ให้ผลดีที่สุดคือคลุกเมล็ดรองลงมา คือ ฉีดพ่นทางใบให้พืชในช่วงการเพาะกล้า และจุ่มรากกล้าก่อนย้ายปลูกตามลาดับ ผลการทดลองใช้ไรโซแบคทีเรียหลายชนิดกับพืชต่างๆ
– การใช้กับพืชไร่ พืชที่มีการวิจัยด้านการใช้ PGPR มากคือ ข้าวสาลี ข้าวและข้าวโพด สาหรับข้าวสาลีนั้นการคลุกเมล็ดก่อนปลูกด้วย Pseudomomas, Azotobacter หรือ Azospirillum ช่วยให้การงอกของเมล็ดดีขึ้นเพิ่มผลผลิต น้าหนักตอซัง การแตกหน่อ ความเข้มข้นของไนโตรเจนในเมล็ด และปริมาณไนโตรเจนในส่วนเหนือดิน การทดลองในนาข้าวมีการรายงานว่าPseudomomas, Azospirillum, Burkholderia และ Rhodobacter ช่วยให้การเจริญเติบโตและผลผลิตเมล็ดสูงขึ้น ส่วนการใช้ Pseudomomas, Azotobacter และ Azospirillum คลุกเมล็ดข้าวโพดก่อนปลูก จะทาให้ได้ผลผลิตเมล็ดสูงขึ้นเช่นเดียวกัน
– การใช้กับพืชอื่นๆ ได้แก่ มันฝรั่ง มะเขือเทศ เรฟสีด คาโนลา ผักกาดหอมและข้าวบาร์เลย์ Azotobacter เหมาะกับการใช้ก่อนปลูกมันฝรั่ง Pseudomomas ช่วยเพิ่มน้าหนักผลมะเขือเทศและเรฟสีด ส่งเสริมการเจริญของรากและส่วนเหนือดินของคาโนลาและผักกาดหอม

– การใช้ไรโซเบียมเป็น PGPR กับพืชที่มิใช่ถั่ว สาหรับบทบาทของไรโซเบียมและแบรดีไรโซเบียม ในการตรึงไนโตรเจนเมื่ออยู่ร่วมกับพืชตระกูลถั่วนั้น แต่ไรโซเบียมยังมีศักยภาพที่จะใช้เป็น PGPR กับพืชที่ไม่ใช่ตระกูลถั่วอีกด้วย เนื่องจากไรโซเบียมสามารถสร้างโคโลนีที่รากพืชดังกล่าว แล้วสังเคราะห์ฮอร์โมน ซิเดโรฟอร์และ HCN พืชซึ่งไรโซเบียมเจริญได้ดีที่ราก ได้แก่ หน่อไม้ฝรั่ง ข้าว ข้าวโอ๊ตและข้าวสาลี นอกจากนี้ไรโซเบียมและแบรดีไรโซเบียมยังเจริญได้ดีที่รากถั่วเหลือง ถั่วไต เรดโคลเวอร์ ข้าวโอ๊ต ข้าวสาลีและข้าวโพด เมื่อมีไรโซเบียมในดินรอบผิวรากก็จะสามารถกระตุ้นให้ปลายขนรากข้าวโพด ข้าว และข้าวโอ๊ตโค้งเช่นเดียวกับที่เกิดขนกับรากถั่ว ยิ่งกว่านั้นไรโซเบียมและแบรดีไรโซเบียมยังมีความสามารถอื่นๆ ที่ PGPR มี เช่น สั่งเคราะห์ฮอร์โมนและซิเดโรฟอร์ ละลายสารประกอบอนินทรีย์ฟอสเฟตและมีภาวสะปฏิปักษ์ต่อจุลินทรีย์ซึ่งหาสาเหตุของโรคพืช ตัวอย่างกิจกรรมแบบ PGPR ของไรโซเบียมและการตอบสนองของพืชมีดังนี้ ใช้ Bradyrhizobium japonicum กับข้าวบาร์เลย์ ทาให้ความยาวของรากเพิ่มขึ้น 12.9 % และน้าหนักรากสดเพิ่มขึ้น 6.3 % เมื่อเทียบกับการไม่ใส่แบรดีไรโซเบียม การใช้ Rhizobium leguminosarum cv. Phaseoil กับข้าวโพดและผักกาดหอม ช่วยละลายสารประกอบฟอสเฟต ผลิตซิเดโรฟอร์ IAA และ HCN ใช้ Rhizobium leguminosarum cv. Trifolii กับข้าว ทาให้น้าหนักเมล็ดเพิ่มขึ้น 8-22 % และน้าหนักฟางเพิ่มขึ้น 4-19 % การสะสม N, P และ K ในต้นเพิ่มขึ้น 10-28 % เมื่อเทียบกับการไม่ใส่ไรโซเบียม การใช้ Bradyrhizobium japonicum กับมะเขือเทศ ทาให้ความยาวรากทั้งหมดของกล้าเพิ่มขึ้น 37% เมื่อเทียบกับไม่ใส่แบรดีไรโซเบียม
– การใช้ไรโซเบียมร่วมกับ PGPR ในการปลูกถั่ว การใช้ไรโซเบียมร่วมกับ PGPR ในการปลูกถั่วช่วยเพิ่มจานวนปมราก เนื่องจาก PGPR สามารถ สังเคราะห์ไฟโตอะเล็กซิน (phytoalexin) ซึ่งเป็นสารปฏิชีวนะที่มีฤทธิ์ในการควบคุมเชื้อโรค สังเคราะห์ซิเดโรฟอร์ซึ่งทาปฏิกิริยาคีเลชันกับไอออนของโลหะและเกิดโคโลนี ที่รากจึงครองพื้นที่ในรากและกีดกันมิให้เชื้อโรคเข้ามา การเข้าสู่รากถั่ว (inflection) ของไรโซเบียม เริ่มต้นด้วยการสร้างท่อเส้นด้ายในขนราก ในขั้นนี้ PGPR เริ่มเข้ามามีบทบาทเสริม Azospirium lipoferum หรือ Azospirium brasilense ที่ใส่พร้อมกับไรโซเบียมจะช่วยกระตุ้นการเกิดปมราก โดยส่งเสริมการแตกรากแขนงและเพิ่มปริมาณเซลล์ในเนื้อเยื่อชั้นผิว(epidermis) ที่จะพัฒนาขนราก รวมทั้งการแยกสาขาของจนราก (root hair branching) เพื่อเพิ่มช่องทางเข้าสู่รากถั่วของไรโซเบียมที่ทาให้จานวนปมรากเพิ่มขึ้นมาก นอกจากนั้น Azospirillum brasilense ที่ใช้ร่วมกับไรโซเบียมยังช่วยเพิ่มกิจกรรมของเอนไซม์ไนโตรจีเนสอีกด้วยการตรึงไนโตรเจนจึงสูงขึ้น ผลของการใช้ไรโซเบียมร่วมกับ PGPR คือ เพิ่มจานวนและน้าหนักของปมราก ปริมาณเหล็กในปมรากที่กาลังพัฒนาและปมรากที่พัฒนาแล้ว กิจกรรมของเอนไซม์ไนโตรจีเนส ความยาว พื้นที่ผิวและน้าหนักแห้งของราก ความสูงและน้าหนักแห้งส่วนเหนือดิน ปริมาณไนโตรเจนและธาตุอื่นๆในส่วนเหนือดินและผลผลิตเมล็ด สาหรับไรโซเบียมนั้นมีหลายชนิดที่สามารถละลายสารประกอบฟอสเฟตในดินได้ดีและไรโซเบียมที่สร้างปมในถั่วลูกไก่

(chickpea) จัดว่ามีความสามารถในเรื่องนี้มากที่สุด ซึ่งได้แก่ Mesorhizobium mediterraneum และ Mesorhizobium cicero ข้อมูลที่กล่าวมานี้เป็นการวิจัยในเรือนเพาะปลูกพืชทดลองเป็นส่วนมาก จึงต้องมีการทดลองในภาคสนามกับดินต่างชนิด ภายใต้สภาพแวดล้อมที่แตกต่างกัน เพื่อให้แน่ใจว่าหากนามาใช้ในไร่นาจะได้ผลดีคุ้มค่ากับการใช้งาน (กรมวิชาการเกษตร , 2553)
2.4 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
สุภาพรและปราโมทย์ (2552) ศึกษาอัตราการใส่ปุ๋ยไนโตรเจนร่วมกับปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์ 1 ต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ในแปลงผลิตพืช แผนกพืชไร่นา สาขาวิชาพืชศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน อาเภอภูเพียง จังหวัดน่าน ระหว่างเดือนมิถุนายนถึงเดือนพฤศจิกายน 2549 โดยวางแผนการทดลองแบบ RCBD มี 5 สิ่งทดลอง ประกอบด้วย การใส่ปุ๋ยเคมีสูตร 15-15-15 อัตรา 50 กิโลกรัมต่อไร่ร่วมกับปุ๋ยเคมีสูตร 21-0-0 อัตรา 30 กิโลกรัมต่อไร่ ,ใส่ปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์ 1 ร่วมกับปุ๋ยเคมีสูตร 15-15-15 อัตรา 50 กิโลกรัมต่อไร่และปุ๋ยเคมีสูตร 21-0-0 อัตรา 20, 10, 5 และ 0 กิโลกรัมต่อไร่ ตามลาดับ ผลการวิจัยพบว่าการเจริญเติบโตทางด้านลาต้น องค์ประกอบผลผลิต และผลผลิตของข้าวโพดเลี้ยงสัตว์พันธุ์ซีพีดีเค 888 ให้ผลไม่แตกต่างกันทางสถิติ แต่มีแนวโน้มว่าการใส่ปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์ 1 ร่วมกับปุ๋ยเคมีสูตร 15-15-15 อัตรา 50 กิโลกรัมต่อไร่และปุ๋ยเคมีสูตร 21-0-0 อัตรา 10 กิโลกรัมต่อไร่ให้ผลดีที่สุด
นางสุวลักษณ์ อะมะวัลย์ (2555) ศึกษาผลของปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์ต่อการเพิ่มประสิทธิภาพกาไรผลิตของมันสาปะหลัง โดยดาเนินการในแปลงเกษตรกร ตาบลสานักท้อน อาเภอบ้านฉาง จังหวัดระยอง ซึ่งเนื้อดินเป็นดินทราย ระหว่างเดือนมีนาคม พ.ศ. 2554 ถึง เดือนตุลาคม พ.ศ. 2555 วางแผนการทดลองแบบ Split Plot in Randomized Complete Block Design มี 4 ซ้า Main plot คือ การใช้และไม่ใช้ปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์ และ Subplot คือ การใส่ปุ๋ยเคมี 0, 4, 8, 12 และ 16 กิโลกรัมไนโตรเจนต่อไร่ ผลการทดลองพบว่า การใช้และไม่ใช้ปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์ไม่ทาให้ความสูง น้าหนักใบ น้าหนักเหง้า ผลผลิตหัวสด เปอร์เซ็นต์แป้ง ผลผลิตแป้ง เปอร์เซ็นต์มันแห้ง ผลผลิตมันแห้ง และดัชนีการเก็บเกี่ยว มีความแตกต่างกันทางสถิติ แต่ทาให้น้าหนักต้นสดมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ และการใส่ปุ๋ยเคมีไนโตรเจนทาให้มีความแตกต่างกันทางสถิติอย่างมีนัยสาคัญกับกรรมวิธีที่ไม่ใส่ปุ๋ยไนโตรเจนทั้งความสูง น้าหนักต้น น้าหนักเหง้า ผลผลิตหัวสด ผลผลิตแป้ง และผลผลิตมันแห้ง และพบว่าการใช้ปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์ร่วมกับปุ๋ยไนโตรเจนแต่ละอัตราทาให้ความสูง น้าหนักต้น น้าหนักใบ น้าหนักเหง้า ผลผลิตหัวสด เปอร์เซ็นต์แป้ง ผลผลิตแป้ง เปอร์เซ็นต์มันแห้ง ผลผลิตมันแห้งและดัชนีการเก็บเกี่ยว เพิ่มขึ้นเกือบทุกอัตราปุ๋ยไนโตรเจน และเมื่อวิเคราะห์ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจพบว่า การใส่ปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์ร่วมกับปุ๋ยเคมีไนโตรเจนอัตรา 8 กิโลกรัม

ไนโตรเจนต่อไร่ จะทาให้เกษตรกรมีกาไรสุทธิสูงสุดเท่ากับ 9,096 บาทต่อไร่ ชี้ให้เห็นว่าในดินทรายการใช้ปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์ทาให้ช่วยลดปุ๋ยเคมีไนโตรเจนได้ร้อยละ 50 ของอัตราแนะนา
จักรพงษ์ และคณะ (2555) ศึกษาการเกี่ยวกับการศึกษาผลของการใช้เชื้อราอาบัสคูล่าไมคอร์ไรซาและพีจีพีอาร์ (PGPR) การศึกษาการใช้เชื้อราอาบัสคูล่าไมคอร์ไรซาและพีจีพีอาร์ (PGPR) ต่อการดึงดูดธาตุอาหารการเจริญเติบโตและผลผลิตของลาไย โดยทาการสารวจและเก็บตัวอย่างเชื้อราอาบัสคูล่าไมคอร์ไรซาก่อนการทดลองการศึกษาปริมาณเชื้อราอาบัสคูล่าไมคอร์ไรซาใต้ทรงพุ่มลาไยอินทรีย์ในเขตจังหวัดเชียงใหม่และลาพูน 6 อาเภอ พบว่ามีปริมาณเฉลี่ย 17.0 สปอร์/ดิน10 กรัม ซึ่งสูงกว่าเมื่อเทียบกับงานทดลองของ Mohammad et al. (2003) ที่ทาการทดสอบหาปริมาณเชื้อราอาบัสคูล่าไมคอร์ไรซาในตัวอย่างดินที่ปลูกพืชหลายๆประเภทในประเทศจอร์แดน โดยดินรอบรากพืชกลุ่มPeach มีค่าเฉลี่ยตั้งแต่ 12-43 สปอร์/ดิน100 กรัม องุ่นมีปริมาณสปอร์เฉลี่ยอยู่ที่13-52 สปอร์/ดิน 100 กรัม และทับทิมมีปริมาณสปอร์เฉลี่ยอยู่ที่ 15-35 สปอร์/ดิน 100 กรัม ซึ่งอาจสืบเนื่องมาจากดินในพื้นที่ ทดสอบดังกล่าวมีความเป็นกรดสูงและแห้งแล้งและอยู่ในพื้นที่เขตร้อนหรือกึ่งเขตร้อน (McGee, 1989) โดยปริมาณเชื้อไมคอร์ไรซารอบรากพืชกลุ่มไม้ผลส่วนใหญ่จะสูงกว่าพืชชนิดอื่นสาหรับการทดลองในการเติมเชื้อไมคอร์ไรซา และการใช้เชื้อPGPR เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการดูดใช้ธาตุอาหารและส่งเสริมการเจริญเติบโตของต้นลาไยพบว่าค่าความเป็นกรด-ด่างเปลี่ยนแปลงเล็กน้อย สอดคล้องกันงานทดลองของ Safari Sinegani and Sharifa (2007) ทั้งนี้อาจเป็นเพราะดินที่ใช้ในการทดลองมีระดับค่าความเป็นกรด-ด่างอยูในช่วง7.0-7.9 ซึ่งจากงานทดลองนี้วัดค่าเฉลี่ยหลังจากการใส่เชื้อทั้งสองกลุ่มแล้วลดลงเหลือ 6.53-6.56 อย่างไรก็ตามการเติมเชื้อไมคอร์ไรซาเพียงอย่างเดียวจะสามารถยกระดับค่าความเป็นกรด-ด่างได้มากกว่าตารับอื่นเล็กน้อยส่วนการเติมเชื้อ PGPR ในข้าวโพดที่ปลูกด้วยระบบอินทรีย์ในเขตจังหวัดเชียงใหม่ก็ตอบสนองต่อค่าความเป็นกรด-ด่างเพียงเล็กน้อยเช่นกัน เมื่อเทียบกับตัวอย่างดินก่อนการทดลอง (อรวรรณ และคณะ, 2552) สาหรับปริมาณอินทรียวัตถุที่เพิ่มสูงขึ้นจากการใช้เชื้อไมคอร์ไรซ่าและ PGPR นั้นน่าจะเป็นผลสืบเนื่องจากการทางานของปุ๋ยจุลินทรีย์ ดังกล่าว โดยเฉพาะหากดินมีปริมาณอินทรียวัตถุต่าการเพิ่มขึ้นของอินทรียวัตถุจะเห็นอย่างเด่นชัดเมื้อมีการใช้เชื้อไมคอร์ไรซา เช่นงานทดลองของ Kragiannidis et al. (1997) ที่นาเชื้อไมคอร์ไรซาไปเติมให้กับต้นองุ่นในดินเนื้อร่วนปนทรายและมีปริมาณอินทรียวัตถุต่าเพียง 1.2% ร่วมทั้งปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ไม่ถึง 10 ppm นั้นทาให้พบการตอบสนองของเชื้อไมคอร์ไรซาต่อการดูดธาตุอาหารขององุ่นปริมาณสปอร์ของไมคอร์ไรซาและการเพิ่มขึ้นของอินทรียวัตถุเด่นชัดกว่าการไม่เติมเชื้อไมคอร์ไรซาสาหรับปริมาณโพแทสเซียมใต้ทรงพุ่มของลาไยนั้นไม่มีความแตกต่างในทางสถิติ เมื่อมีการใช้เชื้อทั้งสองเดียวๆหรือใช้ร่วมกับ ทั้งนี้อาจเป็นเพราะปริมาณโพแทสเซียมใต้ทรงพุ่มลาไยอยู่ในระดับที่สูงคือ 315-412 mgK/kg ซึ่งปริมาณโพแทสเซียมดังกล่าวไม่ตอบสนองต่อการใส่เชื้อในทุกตารับ

บทที่3
การดาเนินการศึกษา
3.1 เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา
3.1.1 ต้นหน้าวัวใบยาวลูกผสม อายุประมาณ 2 ปี ปลูกในกระถาง 11 นิ้ว จานวน 432 ต้น และปลูกในกระถาง 8 นิ้ว จานวน 336 ต้น รวมทั้งหมด 768 ต้น
3.1.2 ปุ๋ยที่ใช้ทดสอบ
-ปุ๋ยสูตร PGPR 1
-ปุ๋ยสูตร PGPR 2
-ปุ๋ยสูตร PGPR 3
-ปุ๋ยไนโตรฟอสก้า สูตร 12-12-17
-สารบราโว่ B1
-ปุ๋ยเกล็ด สูตร 16-21-27
-. ปุ๋ยปลา
3.1.3 อุปกรณ์ในการปลูกและดูแลรักษาชมจันทร์
-ลวดในการทาค้าง
-ตาข่าย
-เสาช่วยพยุงในการทาค้าง
-ถาดเพาะกล้าจานวน 4 ถาด
-วัสดุคลุมแปลง
-ไม้ปักแปลง
3.1.4 อุปกรณ์ที่ใช้บันทึกข้อมูล ได้แก่ ดินสอ ตลับเมตร สมุดบันทึก ฟิวเจอร์บอร์ดแผ่นใหญ่ 1 แผ่น ปากกาเคมี เชือกฟาง ตาชั่ง 2 ตาแหน่ง ชุดก

3.2 วิธีการศึกษา
3.2.1 แผนการทดลองวางแผนการทดลองแบบ Randomized Complete Block Design (RCBD) จานวน 16 สิ่งทดลองๆ ละ 4 ซ้าๆ ละ 12 ต้น (ตารางที่ 3.1) ประกอบด้วยสิ่งทดลองมีทั้งสิ้น 16 สิ่งทดลอง ดังนี้
สิ่งทดลองที่ 1 ปุ๋ยไนโตรฟอสก้า สูตร 12-12-17 อัตรา 20 กรัมต่อต้น + ปุ๋ยเกล็ด สูตร 16-21-27 (ชุดควบคุม)
สิ่งทดลองที่ 2 ปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์ 1 อัตรา 1000 กรัมต่อน้า 100 ลิตรต่อพื้นที่ 1 ไร่ + ปุ๋ยไนโตรฟอสก้า สูตร 12-12-17 อัตรา 15 กรัมต่อต้น + ปุ๋ยเกล็ด สูตร 16-21-27
สิ่งทดลองที่ 3 ปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์ 2 อัตรา 1000 กรัมต่อน้า 100 ลิตรต่อพื้นที่ 1 ไร่ + ปุ๋ยไนโตรฟอสก้า สูตร 12-12-17 อัตรา 15 กรัมต่อต้น + ปุ๋ยเกล็ด สูตร 16-21-27
สิ่งทดลองที่ 4 ปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์ 3 อัตรา 1000 กรัมต่อน้า 100 ลิตรต่อพื้นที่ 1 ไร่ + ปุ๋ยไนโตรฟอสก้า สูตร 12-12-17 อัตรา 15 กรัมต่อต้น + ปุ๋ยเกล็ด สูตร 16-21-27
สิ่งทดลองที่ 5 ปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์ 1 อัตรา 1000 กรัมต่อน้า 100 ลิตรต่อพื้นที่ 1 ไร่ + ปุ๋ยไนโตรฟอสก้า สูตร 12-12-17 อัตรา 10 กรัมต่อต้น + ปุ๋ยเกล็ด สูตร 16-21-27
สิ่งทดลองที่ 6 ปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์ 2 อัตรา 1000 กรัมต่อน้า 100 ลิตรต่อพื้นที่ 1 ไร่ + ปุ๋ยไนโตรฟอสก้า สูตร 12-12-17 อัตรา 10 กรัมต่อต้น + ปุ๋ยเกล็ด สูตร 16-21-27
สิ่งทดลองที่ 7 ปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์ 3 อัตรา 1000 กรัมต่อน้า 100 ลิตรต่อพื้นที่ 1 ไร่ + ปุ๋ยไนโตรฟอสก้า สูตร 12-12-17 อัตรา 10 กรัมต่อต้น + ปุ๋ยเกล็ด สูตร 16-21-27
สิ่งทดลองที่ 8 ปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์ 1 อัตรา 500 กรัมต่อน้า 100 ลิตรต่อพื้นที่ 1ไร่ + ปุ๋ยไนโตรฟอสก้า สูตร 12-12-17 อัตรา 15 กรัมต่อต้น + ปุ๋ยเกล็ด สูตร 16-21-27
สิ่งทดลองที่ 9 ปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์ 2 อัตรา 500 กรัมต่อน้า 100 ลิตรต่อพื้นที่ 1 ไร่ + ปุ๋ยไนโตรฟอสก้า สูตร 12-12-17 อัตรา 15 กรัมต่อต้น + ปุ๋ยเกล็ด สูตร 16-21-27
สิ่งทดลองที่ 10 ปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์ 3 อัตรา 500 กรัมต่อน้า 100 ลิตรต่อพื้นที่ 1 ไร่ + ปุ๋ยไนโตรฟอสก้า สูตร 12-12-17 อัตรา 15 กรัมต่อต้น + ปุ๋ยเกล็ด สูตร 16-21-27
สิ่งทดลองที่ 11 ปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์ 1 อัตรา 500 กรัมต่อน้า 100 ลิตรต่อพื้นที่ 1 ไร่ + ปุ๋ยไนโตรฟอสก้า สูตร 12-12-17 อัตรา 10 กรัมต่อต้น + ปุ๋ยเกล็ด สูตร 16-21-27
สิ่งทดลองที่ 12 ปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์ 2 อัตรา 500 กรัมต่อน้า 100 ลิตรต่อพื้นที่ 1 ไร่ + ปุ๋ยไนโตรฟอสก้า สูตร 12-12-17 อัตรา 10 กรัมต่อต้น + ปุ๋ยเกล็ด สูตร 16-21-27
สิ่งทดลองที่ 13 ปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์ 3 อัตรา 500 กรัมต่อน้า 100 ลิตรต่อ

สิ่งทดลองที่ 14 ปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์ 1 อัตรา 1000 กรัมต่อน้า 100 ลิตรต่อพื้นที่ 1 ไร่ + ปุ๋ยเกล็ด สูตร 16-21-27
สิ่งทดลองที่ 15 ปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์ 2 อัตรา 1000 กรัมต่อน้า 100 ลิตรต่อพื้นที่ 1 ไร่ + ปุ๋ยเกล็ด สูตร 16-21-27
สิ่งทดลองที่ 16 ปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์ 3 อัตรา 1000 กรัมต่อน้า 100 ลิตรต่อพื้นที่ 1 ไร่ + ปุ๋ยเกล็ด สูตร 16-21-27
ตารางที่ 3.1 แผนผังการทดลอง
R2
R3
R4
ถนนเส้นทางหลัก

หมายเหตุ สิ่งทดลองเรียงลาดับในแนวตั้งมีดังนี้
ซ้าที่1 T6R1 T7R1 T15R1 T12R1 T4R1 T8R1 T2R1 T16R1 T9R1 T11R1 T13R1 T5R1 T3R1 T10R1 T1R1 T14R1
ซ้าที่2 T4R2 T6R2 T1R2 T5R2 T14R2 T9R2 T11R2 T7R2 T8R2 T13R2 T15R2 T3R2 T12R2 T2R2 T16R2 T10R2
ซ้าที่3 T12R3 T3R3 T10R3 T8R3 T5R3 T6R3 T4R3 T1R3 T11R3 T13R3 T14R3 T2R3 T16R3 T7R3 T9R3 T15R3
ซ้าที่4 T4R4 T9R4 T6R4 T2R4 T14R4 T11R4 T3R4 T12R4 T16R4 T7R4 T1R4 T10R4 T5R4 T15R4 T13R4 T8R4
3.2.2 ขั้นตอนการดาเนินงาน
3.2.2.1 การปลูกและการดูแลหน้าวัวใบยาว
– ทาการกาจัดวัชพืช เถาวัลย์ และต้นไม้ภายในแปลง จากนั้นใช้น้ารดบริเวณแปลงให้เปียกเพื่อให้วัชพืชที่หลงเหลืออยู่ในแปลงงอกขึ้นเป็นเวลา 7 วัน แล้วใช้ยาฆ่าหญ้าฉีดพ่นให้ทั่วทั้งแปลงทิ้งแปลงไว้ 2-3 วัน
– ทาการวัดแปลงเพื่อเตรียมที่จะลงปลูกต้นหน้าวัวใบยาว พื้นที่ทั้งหมด 320 ตารางเมตร ฝั่งละ 160 ตารางเมตร แต่ละฝั่งหัวแปลงปลูกซึ่งมีระยะห่างจากถนน ฝั่งซ้าย 155 เซนติเมตร และฝั่งขวา 173 เซนติเมตร จากนั้นทาการวัดความกว้างของแปลงจากชายร่องของแปลงด้านหนึ่งไปอีกด้านหนึ่งซึ่งทั้งสองฝั่งมีระยะ 714 เซนติเมตรทาการแบ่งครึ่งแปลงทั้งสองฝั่งแล้ววัดออกมาจากตรงกลางแปลงด้านละ 50 เซนติเมตร(ทางเดิน1เมตร)และดึงเชือกทาแนวทางเดินทั้งสองฝั่ง
– จากนั้นทาการวัดแถวปลูกโดยยึดจากทางเดิน โดยวัดจากทางเดินไปทางร่องน้าทั้งสองข้างทาการโรยปูนขาวและปุ๋ยคอก (มูลวัว) บางๆ ตามแนวที่ได้วัดไว้ จากนั้นวัดระยะห่างต้นแรกที่อยู่ใกล้ทางเดินจะมีระยะห่างจากทางเดินออกมา 30 ซม. ส่วนต้นถัดมาจะมีระยะห่างจากต้นแรก 40 ซม. จะได้แถวละ 12 ต้น ฝั่งละ 32 แถว รวมทั้งหมดจานวนแถว 64 แถว
– ตั้งต้นหน้าวัวใบยาวโดยการถอดต้นออกจากกระถางทาการวางต้นให้ตรงกับที่วัดไว้ แล้วใช้ขุยมะพร้าวละเอียดเทบริเวณโคนตุ้มบางๆ จากนั้นใช้กาบมะพร้าวสับกระโดดกลบตุ้มเป็นแนวยาวทั้งสองข้างของต้นหน้าวัวใบยาว
– ใช้แกลบสดโรยบริเวณรอบตุ้ม 2 กามือต่อต้น เพื่อให้แกลบสดแทรกอยู่ระหว่างช่องว่างของวัสดุปลูกทาให้บริเวณตุ้มของต้นหน้าวัวใบยาวเก็บความชื้นได้มากขึ้น
-รดน้าให้เปียกเล็กน้อยเพื่อป้องกันตุ้มและรากของต้นหน้าวัวใบยาวไม่แตกแห้งเกินไป
3.2.2.2 วิธีการทดลองและการใส่ปุ๋ย

– คัดเลือกต้นหน้าวัวใบยาวที่ปลูกในกระถางขนาด 8 นิ้วและ 11 นิ้ว ที่มีขนาดลาต้น ใบ ความยาวก้านใบใกล้เคียงกัน นาไปจัดเรียงไว้ตามแถวในแปลงปลูกเพื่อเป็นการเตรียมต้นก่อนการทดลอง
– ทาการวัดต้นหน้าวัวใบยาวเพื่อใช้เป็นข้อมูลเปรียบเทียบ โดยการวัดความยาวของใบที่ 1, 2, 3 ความกว้างของใบที่ 1, 2, 3 ความยาวยอด ความยาวก้านใบที่ 1 และจานวนใบในต้นที่สมบูรณ์และเป็นตัวแทนที่ดี
– เมื่อนาต้นหน้าวัวใบยาวลงปลูกเสร็จจะทาการสุ่มให้สิ่งทดลอง โดยแบ่งเป็น 16 สิ่งทดลอง สิ่งทดลองละ 4 ซ้า ซ้าละ 6 ต้น โดยใช้ปุ๋ยเคมีร่วมกับปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์1,2,3 และปุ๋ยทางใบ
– หลังย้ายลงปลูกในแปลงประมาณ 1 สัปดาห์ หรือเมื่อพืชตั้งตัวได้จึงใส่ปุ๋ยตาม กรรมวิธีทดลองที่กล่าวมาข้างต้น และดูแลรดน้าวันละ 1 ครั้ง โดยจะแบ่งใส่ปุ๋ย 3 ครั้ง ครั้งแรกหลังที่ย้ายปลูก 5 วัน ครั้งที่2 หลังย้ายปลูก 15 วันและครั้งที่ 3 ปลูก 35 วัน ในอัตราที่กาหนด
3.3 บันทึกข้อมูล
ข้อมูลด้านการเจริญเติบโต ได้แก่
1) ความยาวของใบ (เซนติเมตร) ( ใบที่1, ใบที่2,ใบที่3 )
การเก็บข้อมูลความยาวใบของต้นหน้าวัวใบยาว (เซนติเมตร) การตรวจวัดความยาวใบของต้นหน้าวัวใบยาว ต้นตัวแทนการทดลองโดยวัดความยาวใบทุก 7 วัน ทาการวัดความยาวใบที่เพิ่มขึ้นในทุกๆ 7 วัน หลังจากใส่ปุ๋ยตามสิ่งทดลองเป็นเวลา 7 วัน ส่วนที่ทาการวัดจะเริ่มวัดจากส่วนที่อยู่เหนือลาต้น(ตั้งแต่ส่วนโคนก้านใบจนถึงปลายยอดใบ) ของตัวแทนการทดลอง บันทึกผลการเก็บข้อมูลและเก็บรวบรวมต่อไป
21-

 

 

 

2) ความกว้างของใบ (เซนติเมตร) ( ใบที่1, ใบที่2,ใบที่3 )การเก็บข้อมูลความกว้างของใบต้นหน้าวัวใบยาว (เซนติเมตร) การตรวจวัดความกว้างของใบหน้าวัวใบยาวทุกๆ 7 วัน หลังจากใส่ปุ๋ยตามสิ่งทดลองเป็นเวลา 7 วัน ส่วนที่ทาการวัดจะเริ่มวัดจากส่วนที่กว้างที่สุดของใบ ของตัวแทนการทดลอง บันทึกผลการเก็บข้อมูลและเก็บรวบรวมต่อไป

43

 

 

 

 

 

 

3) ความยาวก้านใบ (เซนติเมตร)
การเก็บข้อมูลความยาวก้านใบของใบต้นหน้าวัวใบยาว (เซนติเมตร) การตรวจวัดความยาวก้านใบของใบหน้าวัวใบยาวทุกๆ 7 วัน หลังจากใส่ปุ๋ยตามสิ่งทดลองเป็นเวลา 7 วันส่วนที่ทาการวัดจะเริ่มวัดจากโคนจนถึงฐานใบของตัวแทนการทดลองบันทึกผลการเก็บข้อมูลและเก็บรวบรวมต่อไป
5

4) จานวนใบ
การเก็บข้อมูลจดบันทึกจานวนใบทุกๆ 7 วัน

6 7

 

 

 

 

 

 

5) ความยาวยอด (เซนติเมตร)
การเก็บข้อมูลความยาวยอดของต้นหน้าวัวใบยาว (เซนติเมตร) การตรวจวัดความยาวยอดของต้นหน้าวัวใบยาว ต้นตัวแทนการทดลองโดยวัดความยาวใบทุก 7 วัน ทาการวัดความยาวยอดที่เพิ่มขึ้นในทุกๆ 7 วัน หลังจากใส่ปุ๋ยตามสิ่งทดลองเป็นเวลา 7 วัน ส่วนที่ทาการวัดจะเริ่มวัดจากส่วนที่อยู่เหนือลาต้นที่ติดกับใบที่ 1 ของตัวแทนการทดลอง บันทึกผลการเก็บข้อมูลและเก็บรวบรวมต่อไป

93.4 การวิเคราะห์ข้อมูล
วิเคราะห์ความแปรปรวนของทุกลักษณะที่บันทึกข้อมูลตามแผนการทดลอง Randomized Complete Block Design ( RCBD ) โดยใช้โปรแกรม Statistic 9 คานวณค่าความแปรปรวนตามแผนการทดลองที่ต่างกันเมื่อได้ค่าความแตกต่างทางสถิติระดับความเชื่อมั่นที่ 95 เปอร์เซ็นต์ ทาการเปรียบเทียบข้อมูลโดยใช้ LSD (Least Significant Difference)

3. 5 สถานที่และระยะเวลาการศึกษา
3.5.1 สถานที่ทาการศึกษา
สวนอุดมการ์เด้น 179 หมู่ 3 ตาบลดอนคลัง อาเภอดาเนินสะดวก จังหวัดราชบุรี 70130
3.5.2 ระยะเวลาทาการศึกษาระหว่างเดือนกุมภาพันธ์ – มีนาคม 2559(ระยะเวลาการทาวิจัยรวม 1เดือน วัน)
3.6 ตารางปฏิบัติงาน
ตารางที่ 3.2 ขั้นตอนการดาเนินงาน

 

ภาพที่ 3.1 กรอบแนวคิดการศึกษา
บทที่4
ผลการศึกษาและวิจารณ์ผลการทดลอง
จากการศึกษาอิทธิพลของปุ๋ยเคมี และปุ๋ยพีจีพีอาร์ 1,2,3 ต่อการเจริญเติบโตของต้นหน้าวัวใบยาว โดยวางแผนการทดลองแบบ Randomized Complete Block Design (RCBD) จานวน 16 สิ่งทดลองๆ ละ 4 ซ้าๆ ละ 12 ต้น ประกอบไปด้วย 1) ปุ๋ยไนโตรฟอสก้า สูตร 12-12-17 อัตรา 20 กรัมต่อต้น + ปุ๋ยเกล็ด สูตร 16-21-27 (ชุดควบคุม) 2) ปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์ 1 อัตรา 1000 กรัมต่อน้า 100 ลิตรต่อพื้นที่ 1 ไร่ + ปุ๋ยไนโตรฟอสก้า สูตร 12-12-17 อัตรา 15 กรัมต่อต้น + ปุ๋ยเกล็ด สูตร 16-21-27 3) ปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์ 2 อัตรา 1000 กรัมต่อน้า 100 ลิตรต่อพื้นที่ 1 ไร่ + ปุ๋ยไนโตรฟอสก้า สูตร 12-12-17 อัตรา 15 กรัมต่อต้น + ปุ๋ยเกล็ด สูตร 16-21-27 4) ปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์ 3 อัตรา 1000 กรัมต่อน้า 100 ลิตรต่อพื้นที่ 1 ไร่ + ปุ๋ยไนโตรฟอสก้า สูตร 12-12-17 อัตรา 15 กรัมต่อต้น + ปุ๋ยเกล็ด สูตร 16-21-27 5) ปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์ 1 อัตรา 1000 กรัมต่อน้า 100 ลิตรต่อพื้นที่ 1 ไร่ + ปุ๋ยไนโตรฟอสก้า สูตร 12-12-17 อัตรา 10 กรัมต่อต้น + ปุ๋ยเกล็ด สูตร 16-21-27 6) ปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์ 2 อัตรา 1000 กรัมต่อน้า 100 ลิตรต่อพื้นที่ 1 ไร่ + ปุ๋ยไนโตรฟอสก้า สูตร 12-12-17 อัตรา 10 กรัมต่อต้น + ปุ๋ยเกล็ด สูตร 16-21-27 7) ปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์ 3 อัตรา 1000 กรัมต่อน้า 100 ลิตรต่อพื้นที่ 1 ไร่ + ปุ๋ยไนโตรฟอสก้า สูตร 12-12-17 อัตรา 10 กรัมต่อต้น + ปุ๋ยเกล็ด สูตร 16-21-27 8) ปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์ 1 อัตรา 500 กรัมต่อน้า 100 ลิตรต่อพื้นที่ 1 ไร่ + ปุ๋ยไนโตรฟอสก้า สูตร 12-12-17 อัตรา 15 กรัมต่อต้น + ปุ๋ยเกล็ด สูตร 16-21-27 9) ปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์ 2 อัตรา 500 กรัมต่อน้า 100 ลิตรต่อพื้นที่ 1 ไร่ + ปุ๋ยไนโตรฟอสก้า สูตร 12-12-17 อัตรา 15 กรัมต่อต้น + ปุ๋ยเกล็ด สูตร 16-21-27 10) ปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์ 3 อัตรา 500 กรัมต่อน้า 100 ลิตรต่อพื้นที่
ชนิดของปุ๋ยที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของต้นหน้าวัวใบยาวดีที่สุด

 

1 ไร่ + ปุ๋ยไนโตรฟอสก้า สูตร 12-12-17 อัตรา 15 กรัมต่อต้น + ปุ๋ยเกล็ด สูตร 16-21-27 11) ปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์ 1 อัตรา 500 กรัมต่อน้า 100 ลิตรต่อพื้นที่ 1 ไร่ + ปุ๋ยไนโตรฟอสก้า สูตร 12-12-17 อัตรา 10 กรัมต่อต้น + ปุ๋ยเกล็ด สูตร 16-21-27 12) ปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์ 2 อัตรา 500 กรัมต่อน้า 100 ลิตรต่อพื้นที่ 1 ไร่ + ปุ๋ยไนโตรฟอสก้า สูตร 12-12-17 อัตรา 10 กรัมต่อต้น + ปุ๋ยเกล็ด สูตร 16-21-27 13) ปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์ 3 อัตรา 500 กรัมต่อน้า 100 ลิตรต่อพื้นที่ 1 ไร่ + ปุ๋ยไนโตรฟอสก้า สูตร 12-12-17 อัตรา 10 กรัมต่อต้น + ปุ๋ยเกล็ด สูตร 16-21-27 14) ปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์ 1 อัตรา 1000 กรัมต่อน้า 100 ลิตรต่อพื้นที่ 1 ไร่ + ปุ๋ยเกล็ด สูตร 16-21-27 15) ปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์ 2 อัตรา 1000 กรัมต่อน้า 100 ลิตรต่อพื้นที่ 1 ไร่ + ปุ๋ยเกล็ด สูตร 16-21-27 16) ปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์ 3 อัตรา 1000 กรัมต่อน้า 100 ลิตรต่อพื้นที่ 1 ไร่ + ปุ๋ยเกล็ด สูตร 16-21-27 ได้ผลการศึกษาดังนี้
4.1 ผลของปุ๋ยเคมี และปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์ 1,2,3 ต่อการเจริญเติบโตด้านความยาวใบ ( ใบที่ 1)
ผลของการเปรียบเทียบชนิดและอัตราของปุ๋ยต่อการเจริญเติบโตของต้นหน้าวัวใบยาวโดยให้ปุ๋ยแตกต่างกันส่งผลให้การเจริญเติบโตด้านความยาวใบของหน้าวัวใบยาวไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ ซึ่งจะพบว่าหลังจากการย้ายปลูก 7 วัน ในสัปดาห์ที่ 1 ถึง 6 มีแนวโน้มว่าการให้ปุ๋ยโดยปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์ 1 อัตรา 500 กรัมต่อน้า 100 ลิตรต่อพื้นที่ 1 ไร่ + ปุ๋ยไนโตรฟอสก้า สูตร 12-12-17 อัตรา 15 กรัมต่อต้น + ปุ๋ยเกล็ด สูตร 16-21-27 มีค่าเฉลี่ยของความยาวใบมากที่สุด คือ 29.83 , 31.05, 31.42, 33.12, 34.46, 35.30 เซนติเมตร ตามลาดับ ดังตารางที่ 4.1 ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของ สุภาพรและปราโมทย์ (2552) จากการวิจัยพบว่าการใส่ปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์ 1 ร่วมกับปุ๋ยไนโตรเจนในอัตราต่างๆทาให้การเจริญเติบโตทางด้านความสูงของข้าวโพดไม่แตกต่างกันทางสถิติ ซึ่งความสูงเฉลี่ยทุกสิ่งทดลองสูงกว่าค่าความสูงเฉลี่ยของข้าวโพดพันธุ์ซีพีดีเค 888 ที่มีความสูงเฉลี่ยเท่ากับ 195 เซนติเมตร ซึ่งอาจมีผลทาให้ต้นหักล้มได้ง่ายขึ้น
ตารางที่ 4.1 ผลของปุ๋ยเคมี และปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์ 1,2,3 ต่อการเจริญ

 

NS: ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ
4.2 ผลของปุ๋ยเคมี และ ปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์ 1,2,3 ต่อการเจริญเติบโตด้านความยาวใบ ( ใบที่ 2 ) ของใบหน้าวัวใบยาว
ผลของการเปรียบเทียบชนิดและอัตราของปุ๋ยต่อการเจริญเติบโตของต้นหน้าวัวใบยาวโดยให้ปุ๋ยแตกต่างกันส่งผลให้การเจริญเติบโตด้านความยาวใบของหน้าวัวใบยาวไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ ซึ่งจะพบว่าหลังจากการย้ายปลูก 7 วัน ในสัปดาห์ที่ 1 ถึง 6 มีแนวโน้มว่าการให้ปุ๋ยโดยปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์ 1 อัตรา 500 กรัมต่อน้า 100 ลิตรต่อพื้นที่ 1 ไร่ + ปุ๋ยไนโตรฟอสก้า สูตร 12-12-17 อัตรา 15 กรัมต่อต้น + ปุ๋ยเกล็ด สูตร 16-21-27 มีค่าเฉลี่ยของความยาวใบมากที่สุด คือ 37.10, 38.14, 38.40, 39.72, 39.99, 40.61 เซนติเมตร ตามลาดับ ดังตารางที่ 4.2
ตารางที่ 4.2 ผลของปุ๋ยเคมี และปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์ 1,2,3 ต่อการเจริญเติบโตด้านความยาวใบ ( ใบที่ 2) ของใบหน้าวัวใบยาว (เซนติเมตร)

 

NS: ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิต
4.3 ผลของปุ๋ยเคมี และปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์ 1,2,3 ต่อการเจริญเติบโตด้านความยาวใบ ( ใบที่ 3 ) ของใบหน้าวัวใบยาว
ผลของการเปรียบเทียบชนิดและอัตราของปุ๋ยต่อการเจริญเติบโตของต้นหน้าวัวใบยาวโดยให้ปุ๋ยแตกต่างกันส่งผลให้การเจริญเติบโตด้านความยาวใบของหน้าวัวใบยาวไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ ในสัปดาห์ที่ 1 ถึง 6 มีแนวโน้มว่าการให้ปุ๋ยโดยปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์ 1 อัตรา 1000 กรัมต่อน้า 100 ลิตรต่อพื้นที่ 1 ไร่ + ปุ๋ยเกล็ด สูตร 16-21-27 มีค่าเฉลี่ยของความยาวใบมากที่สุดคือ40.73,41.57,43.80,45.13,47.34,47.59 เซนติเมตร ตามลาดับ ดังตารางที่ 4.3
ตารางที่ 4.3 ผลของปุ๋ยเคมี และปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์ 1,2,3 ต่อการเจริญเติบโตด้านความยาวใบ ( ใบที่ 3) ของใบหน้าวัวใบยาว (เซนติเมตร)

 

NS: ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ
4.4 ผลของปุ๋ยเคมีและปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์ 1,2,3 ต่อการเจริญเติบโตด้านความกว้างใบ (ใบที่ 1) ของใบหน้าวัวใบยาว
ผลของการเปรียบเทียบชนิดและอัตราของปุ๋ยต่อการเจริญเติบโตของต้นหน้าวัวใบยาวโดยให้ปุ๋ยแตกต่างกันส่งผลให้การเจริญเติบโตด้านความกว้างใบของหน้าวัวใบยาวไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ ในสัปดาห์ที่ 1 ถึง 6 มีแนวโน้มว่าการให้ปุ๋ยโดย ปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์ 2 อัตรา 500 กรัมต่อน้า 100 ลิตรต่อพื้นที่ 1 ไร่ + ปุ๋ยไนโตรฟอสก้า สูตร 12-12-17 อัตรา 10 กรัมต่อต้น + ปุ๋ยเกล็ด สูตร 16-21-27 มีค่าเฉลี่ยของความยาวใบมากที่สุด คือ 4.30, 4.53, 4.64, 4.75, 4.79, 4.95 เซนติเมตร ตามลาดับ ดังตารางที่ 4.4
ตารางที่ 4.4 ผลของปุ๋ยเคมี และปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์ 1,2,3 ต่อการเจริญเติบโตด้านความกว้างใบ ( ใบที่1) ของใบหน้าวัวใบยาว (เซนติเมตร)

 

NS: ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ
4.5 ผลของปุ๋ยเคมี และปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์ 1,2,3 ต่อการเจริญเติบโตด้านความกว้างใบ ( ใบที่ 2 ) ของใบหน้าวัวใบยาว
ผลของการเปรียบเทียบชนิดและอัตราของปุ๋ยต่อการเจริญเติบโตของต้นหน้าวัวใบยาวโดยให้ปุ๋ยแตกต่างกันส่งผลให้การเจริญเติบโตด้านความกว้างใบของหน้าวัวใบยาวมีความแตกต่างกันทางสถิติอย่างมีนัยสาคัญยิ่งที่ระดับความเชื่อมั่น 95 % ในสัปดาห์ที่1 มีแนวโน้มว่าการให้ปุ๋ยโดยปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์ 1 อัตรา 500 กรัมต่อน้า 100 ลิตรต่อพื้นที่ 1 ไร่ + ปุ๋ยไนโตรฟอสก้า สูตร 12-12-17 อัตรา 15 กรัมต่อต้น + ปุ๋ยเกล็ด สูตร 16-21-27 มีค่าเฉลี่ยของความกว้างใบมากที่สุด คือ 4.58 เซนติเมตร และ มีความแตกต่างกันทางสถิติอย่างมีนัยสาคัญยิ่งที่ระดับความเชื่อมั่น 99 % ในสัปดาห์ที่ 2 ถึง 6 มีแนวโน้มว่าการให้ปุ๋ยโดย ปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์ 2 อัตรา 1000 กรัมต่อน้า 100 ลิตรต่อพื้นที่ 1 ไร่ + ปุ๋ยไนโตรฟอสก้า สูตร 12-12-17 อัตรา 15 กรัมต่อต้น + ปุ๋ยเกล็ด สูตร 16-21-27 มีค่าเฉลี่ยของความกว้างใบมากที่สุด คือ 6.35, 7.18, 7.75, 8.75, 9.37 เซนติเมตร ตามลาดับ ดังตารางที่ 4.
ตารางที่ 4.5 ผลของปุ๋ยเคมี และปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์ 1,2,3 ต่อการเจริญเติบโตด้านความกว้างใบ ( ใบที่2) ของใบหน้าวัวใบยาว (เซนติเมตร)

 

** : ตัวอักษรที่เหมือนกันในแต่ละคอลัมน์ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ เมื่อเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยด้วยวิธี LSD ที่ระดับความเชื่อมั่น 99 %
4.6 ผลของปุ๋ยเคมี และปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์ 1,2,3 ต่อการเจริญเติบโตด้านความกว้างใบ ( ใบที่ 3 ) ของใบหน้าวัวใบยาว
ผลของการเปรียบเทียบชนิดและอัตราของปุ๋ยต่อการเจริญเติบโตของต้นหน้าวัวใบยาวโดยให้ปุ๋ยแตกต่างกันส่งผลให้การเจริญเติบโตด้านความกว้างใบของหน้าวัวใบยาวมีความแตกต่างกันทางสถิติอย่างมีนัยสาคัญที่ระดับความเชื่อมั่น 95 % ในสัปดาห์ที่1 ถึง 5 และ ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ ในสัปดาห์ที่6 มีแนวโน้มว่าการให้ปุ๋ยโดย ปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์ 2 อัตรา 1000 กรัมต่อน้า 100 ลิตรต่อพื้นที่ 1 ไร่ + ปุ๋ยไนโตรฟอสก้า สูตร 12-12-17 อัตรา 10 กรัมต่อต้น + ปุ๋ยเกล็ด สูตร 16-21-27 มีค่าเฉลี่ยของความกว้างใบมากที่สุด คือ 5.49, 5.78, 4.78, 4.89, 4.97 และ 5.06 เซนติเมตร ตามลาดับ ดังตารางที่ 4.6 ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของ สายชล และคณะ (2555) เปรียบเทียบการเจริญเติบโตและผลผลิตของผักบุ้งจีนเมื่อใช้ปุ๋ยมูลวัวปุ๋ยหมักและปุ๋ยเคมี ในอัตราต่างๆ และ เปรียบเทียบผลตอบแทนของการใช้ปุ๋ยในระดับต่างๆ การวิจัยเป็นการวิจัยเชิงทดลองวางแผนการทดลองแบบRandomized Complete Block Design (RCBD) มี 8 ทรีตเมนต์ 3 ซ้า ทรีตเมนต์ ได้แก่ 1) ไม่ใส่ปุ๋ย 2) ใส่ปุ๋ยหมัก 2,000 กิโลกรัมต่อไร่3) ใส่ปุ๋ยมูลวัว 2,000กิโลกรัมต่อไร่4) ใส่ปุ๋ยเคมีตามคาแนะนาจากค่าวิเคราะห์ดิน คือ N – PO = 20-5-10 กิโลกรัม/ไร่ 5) ใส่ปุ๋ยเคมี ร่วมกับปุ๋ยหมัก1,000 กิโลกรัมต่อไร่ 6) ใส่ปุ๋ยเคมี ร่วมกับปุ๋ยหมัก 2,000 กิโลกรัมต่อไร่ 7 ) ใส่ปุ๋ยเคมี ร่วมกับปุ๋ยมูลวัว 1,000 กิโลกรัมต่อไร่8) ใส่ปุ๋ยเคมี ร่วมกับปุ๋ยมูลวัว 2,000 กิโลกรัมต่อไร่ทาการวัดการเจริญเติบโตของผักบุ้งจีน ผลการทดลองพบว่า อายุ 15 21 และ 25 วัน หลังปลูก การใช้ปุ๋ยระดับต่างๆ เป็นผลให้จานวนใบ ความกว้างใบ และความยาวของใบ มีความแตกต่างทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 99 % โดยการไม่ใส่ปุ๋ยเคมี มีจานวนใบ ความกว้างใบและความยาวของใบเฉลี่ยน้อยกว่าการใส่ปุ๋ยเคมีร่วมกับปุ๋ยหมักและปุ๋ยมูลวัว

 

ตารางที่ 4.6 ผลของปุ๋ยเคมี และปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์ 1,2,3 ต่อการเจริญเติบโตด้านความกว้างใบ(ใบที่3) ของใบหน้าวัวใบยาว (เซนติเมตร)

 

* : ตัวอักษรที่เหมือนกันในแต่ละคอลัมน์ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ เมื่อเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยด้วยวิธี LSD ที่ระดับความเชื่อมั่น 95 %
NS: ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ
4.7 ผลของปุ๋ยเคมี และปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์1,2,3 ต่อการเจริญเติบโตด้านความยาวยอดของหน้าวัวใบยาว
ผลของการเปรียบเทียบชนิดและอัตราของปุ๋ยต่อการเจริญเติบโตของต้นหน้าวัวใบยาวโดยให้ปุ๋ยแตกต่างกันส่งผลให้การเจริญเติบโตด้านความกว้างใบของหน้าวัวใบยาวไม่มีความแตกต่างกันอย่างมี

 

นัยสาคัญทางสถิติ ซึ่งจะพบว่าหลังจากการย้ายปลูก 7 วัน ในสัปดาห์ที่ 1 ถึง 4 และ มีความแตกต่างกันทางสถิติอย่างมีนัยสาคัญยิ่งที่ระดับความเชื่อมั่น 99 % ในสัปดาห์ที่ 5 และ 6 มีแนวโน้มว่าการให้ปุ๋ยโดย มีแนวโน้มว่าการให้ปุ๋ยโดย ปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์ 1 อัตรา 1000 กรัมต่อน้า 100 ลิตรต่อพื้นที่ 1 ไร่ + ปุ๋ยไนโตรฟอสก้า สูตร 12-12-17 อัตรา 15 กรัมต่อต้น + ปุ๋ยเกล็ด สูตร 16-21-27 มีค่าเฉลี่ยของความกว้างใบมากที่สุด คือ 4.91, 6.72, 7.96, 9.25 และ 12.12, 12.85 เซนติเมตร ตามลาดับ ดังตารางที่ 4.7
ตารางที่ 4.7 ผลของปุ๋ยเคมี และปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์ 1,2,3 ต่อการเจริญเติบโตด้านความยาวยอดของหน้าวัวใบยาว (เซนติเมตร)

 

** : ตัวอักษรที่เหมือนกันในแต่ละคอลัมน์ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ เมื่อเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยด้วยวิธี LSD ที่ระดับความเชื่อมั่น 99 %
NS: ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ
4.8 ผลของปุ๋ยเคมี และ ปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์ 1,2,3 ต่อการเจริญเติบโตด้านความยาวก้านใบของหน้าวัวใบยาว

ผลของการเปรียบเทียบชนิดและอัตราของปุ๋ยต่อการเจริญเติบโตของต้นหน้าวัวใบยาวโดยให้ปุ๋ยแตกต่างกันส่งผลให้การเจริญเติบโตด้านความยาวก้านใบของหน้าวัวใบยาวไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ ซึ่งจะพบว่าหลังจากการย้ายปลูก 7 วัน ในสัปดาห์ที่ 1 และ 2 ส่วนสัปดาห์ 3 ถึง 5 มีความแตกต่างกันทางสถิติอย่างมีนัยสาคัญยิ่งที่ระดับความเชื่อมั่น 95 % และ ในสัปดาห์ที่ 6 มีความแตกต่างกันทางสถิติอย่างมีนัยสาคัญยิ่งที่ระดับความเชื่อมั่น 99 % มีแนวโน้มว่าการให้ปุ๋ยโดย มีแนวโน้มว่าการให้ปุ๋ยโดยปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์3 อัตรา 1000 กรัมต่อน้า 100 ลิตรต่อพื้นที่ 1 ไร่ + ปุ๋ยไนโตรฟอสก้า สูตร 12-12-17 อัตรา 15 กรัมต่อต้น + ปุ๋ยเกล็ด สูตร 16-21-27 มีค่าเฉลี่ยของความกว้างใบมากที่สุด คือ 4.74, 5.14, 5.59, 5.95, 6.36, 6.82 เซนติเมตร ตามลาดับ ดังตารางที่ 4.8
ตารางที่ 4.8 ผลของปุ๋ยเคมี และปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์ 1,2,3 ต่อการเจริญเติบโตด้านความยาวก้านใบของหน้าวัวใบยาว (เซนติเมตร)

* : ตัวอักษรที่เหมือนกันในแต่ละคอลัมน์ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ เมื่อเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยด้วยวิธี LSD ที่ระดับความเชื่อมั่น 95 %
** : ตัวอักษรที่เหมือนกันในแต่ละคอลัมน์ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ เมื่อเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยด้วยวิธี LSD ที่ระดับความเชื่อมั่น 99 %

NS: ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ
4.9 ผลของปุ๋ยเคมี และ ปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์ 1,2,3 ต่อการเจริญเติบโตด้านจานวนใบของหน้าวัวใบยาว
ผลของการเปรียบเทียบชนิดและอัตราของปุ๋ยต่อการเจริญเติบโตของต้นหน้าวัวใบยาวโดยให้ปุ๋ยแตกต่างกันส่งผลให้การเจริญเติบโตด้านจานวนใบของหน้าวัวใบยาวไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ ซึ่งจะพบว่าหลังจากการย้ายปลูก 7 วัน ในสัปดาห์ที่ 1 ถึง 6 มีแนวโน้มว่าการให้ปุ๋ยโดย ปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์ 2 อัตรา 1000 กรัมต่อน้า 100 ลิตรต่อพื้นที่ 1 ไร่ + ปุ๋ยไนโตรฟอสก้า สูตร 12-12-17 อัตรา 15 กรัมต่อต้น + ปุ๋ยเกล็ด สูตร 16-21-27 มีค่าเฉลี่ยของความกว้างใบมากที่สุด คือ 12.12, 12.13, 12.36, 13.08, 13.66, 12.86 เซนติเมตร ตามลาดับ ดังตารางที่ 4.9
ตารางที่ 4.9 ผลของปุ๋ยเคมี และ ปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์ 1,2,3 ต่อการเจริญเติบโตด้านจานวนใบของหน้าวัวใบยาว (เซนติเมตร)